Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการผลิต (PRODUCTION THEORY) - Coggle Diagram
ทฤษฎีการผลิต
(PRODUCTION THEORY)
การผลิต (Production)
กระบวนการเปลี่ยนแปลงปัจจัยการผลิตให้ออกมาเป็นผลผลิต
ผลผลิต
สินค้า
กระบวนการแปรรูป
บริการ
ปัจจัยการผลิต
ปัจจัยการผลิตทางเศรษฐศาสตร์ (Factor of Production)
ประเภทของปัจจัยการผลิต
แรงงาน (Labor)
ทุน (Capital)
ที่ดิน (Land)
ผู้ประกอบการ
(Entrepreneur)
ผลตอบแทน
ค่าจ้าง (Wage)
ดอกเบี้ย (Interest)
ค่าเช่า (Rent)
กําไร (Profit)
การผลิต
•สินค้าและบริการที่ผลิตได้ถือเป็นเศรษฐทรัพย์
•เป้าหมายของผู้ผลิต คือ กำไรสูงสุด
กระบวนการหรือกิจกรรมใดๆ ที่เปลี่ยนแปลงหรือแปรรูปปัจจัยการผลิตให้เป็นสินค้า และบริการ
การผลิตเป็นการสร้างอรรถประโยชน์ของสินค้าให้เพิ่มขึ้น มี4แบบ
Place Utility : เป็นการเคลื่อนย้ายสินค้าจากที่หนึ่งไปสู่อีกที่หนึ่งเพื่อเพิ่มความพอใจให้แก่ ผู้บริโภค
Time Utility : เป็นการผลิตเพื่อถนอมอาหารไว้บริโภคในยามขาดแคลนหรือมิใช่ฤดูกาล
Form Utility : เป็นการผลิตที่ทําให้ผู้บริโภคมีความพอใจเพิ่มขึ้น โดยการเปลี่ยนแปลงรูปลักษณ์ของ สินค้า
Service : เป็นการผลิตในรูปของการให้บริการที่ทําให้ผู้บริโภคได้รับความสะดวกหรือได้รับสินค้าที่ตนต้องการ
ความสําคัญของทฤษฎีการผลิต
Demand = พฤติกรรมผู้บริโภค
Supply = พฤติกรรมผู้ผลิต
ความหมายการผลิตและผ้ผลิต
การดําเนินกิจกรรมต่างๆ
สินค้าที่มนุษย์ ต้องการ
การผลิต
ทฤษฎีการผลิตและฟังก์ชันการผลิต
เป็นการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการผลิต(input) และผลผลิตที่ได้รับ (output)
สามารถเขียนความสัมพันธ์ในรูปแบบฟังก์ชันได้ดังนี้
ประสิทธิภาพของการผลิต
ประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ(economic efficiency)
หมายถึง วิธีการผลิตที่ให้ผลผลิตจํานวนเท่ากัน แต่มีต้นทุนการผลิตตํ่าที่สุด
ประสิทธิภาพทางเทคนิค (technical efficiency)
หมายถึง วิธีการผลิตที่ให้ผลผลิตจํานวนเท่ากัน แต่ใช้ปัจจัยการผลิตน้อยที่สุด หรือวิธีการที่ใช้ จํานวนปัจจัยการผลิตเท่ากันแต่ให้ผลผลิตมากกว่า
การผลิตแบ่งออกเป็น 2 ระยะ
ระยะสั้น (Short-Run)
ช่วงเวลาที่จะต้องมีปัจจัยคงที่อย่างน้อยหนึ่งปัจจัยเป็นระยะเวลาที่สั้นจนผู้ผลิตไม่สามารถเปลี่ยนแปลงปัจจัยการผลิตบางชนิดได้
เช่น ขนาดของโรงงาน ขนาดที่ดิน หรือขนาดของเครื่องจักร เป็นต้น
ระยะยาว (Long Run)
ปัจจัยการผลิตกับระยะเวลาในการผลิต
ปัจจัยคงที่ (Fixed factor) เป็นปัจจัยการผลิตที่ไม่ผันแปรตามปริมาณผลผลิตได้ภาย ในช่วงระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง เช่น อาคาร โรงงาน เครื่องจักร เป็นต้น
ปัจจัยผันแปร(Variable factor) เป็ นปัจจัยการผลิตที่ผันแปรตามปริมาณการผลิต ทั้ง ในระยะสั้นและระยะยาว ได้แก่ แรงงาน วัตถุดิบ วัสดุสิ้นเปลือง เป็นต้น
กฎการลดลงของผลได้ (Law of Diminishing Returns)
เป็นกฎของการผลิตในระยะสั้น ซึ่งปริมาณผลผลิตที่ได้รับจากการใช้ปัจจัยคงที่ร่วมกับปัจจัยแปรผัน เป็นไปตามกฎการลดน้อยถอยลงของผลได้
การวิเคราะห์การผลิตระยะยาว
การวิเคราะห์การผลิตระยะยาว ทําได้โดยใช้เครื่องมือ
เส้นผลผลิตเท่ากัน (Isoquant Line)
เส้นต้นทุนเท่ากัน (Isocost Line)
กฏผลได้ต่อขนาด (Law of return to scale)
การประหยัดและไม่ประหยัดเนื่องจากขนาด (Economies of scale and Diseconomies of scale)
กฎผลได้ต่อขนาด (Law of Returns to Scale)
-ผลได้ต่อขนาดคงที่ (Constant Returns to Scale)
-ผลได้ต่อขนาดลดลง (Decreasing Returns to Scale)
-ผลได้ต่อขนาดเพิ่มขึ้น (Increasing Returns to Scale)
การประหยัดภายใน และการไม่ประหยัดภายใน
การไม่ประหยัดภายใน (internal diseconomies) หมายถึง การไม่ประหยัด (ต้นทุนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น) ที่ เกิดจากการดําเนินการของธุรกิจ
การประหยัดภายใน (internal economies) หมายถึง การประหยัด (ต้นทุนเฉลี่ยลดลง) ที่เกิดจากการ ดําเนินการของธุรกิจ(นโยบายการบริหารงาน)