Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 1 แนวคิด หลักการและแนวปฏิบัติในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู…
หน่วยที่ 1 แนวคิด หลักการและแนวปฏิบัติในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
หลักการสำคัญในการเรียนรู้
ครูควรจัดการเรียนรู้ตามความสนใจของผู้เรียน
ครูควรปรับวิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้จากพัฒนาการของผู้เรียน
"ผู้เรียนทุกคนสามารถพัฒนาตนเองได้ตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ"
เนื้อหาที่ได้เรียน
ธรรมชาติของการวัดผลการศึกษา
มีความคลาดเคลื่อน
วัดหลายครั้ง
ใช้เครื่องมือที่หลากหลาย
การวัดในเชิงสัมพันธ์
เอาผลทีได้จากการวัดไปเทียบกับเกณฑ์จึงจะแปลความหมายได้
การวัดวัดทางอ้อม
เป็นนามธรรม
ไม่สามารถวัดได้โดยตรง
การวัดที่ไม่มีศูนย์แท้หรือศูนย์สมบูรณ์
คะแนนที่ได้จากการวัด=0 ไม่ได้แปลว่าไม่มีความรู้ แต่มีความรู้แต่สอบไม่ได้
การวัดที่ไม่สมบูรณ์
ครูสุ่มเนื้อหาบางส่วนมาทดสอบ
การวัดระดับสติปัญญา
มาตราการวัด
มาตราอันตรภาค
เป็นระดับที่สูงกว่านามบัญญัติและเรียงลำดับ
มีศูนย์สมมติ (ศูนย์มีความหมายไม่แท้)
มีหน่วยของการวัดที่เท่ากัน
มาตราส่วน
เป็นระดับสูงที่สุด เนื่องจากมีศูนย์แท้
การวัดทางการศึกษาไม่ได้อยู่ในระดับนี้
มาตราเรียงลำดับ
การกำหนดตัวเลขบอกความหมาย
ตัวเลขที่ต่าง ไม่สามารถบอกปริมาณที่ต่างได้
เป็นระดับที่สูงกว่านามบัญญัติ
มาตรานามบัญญัติ
เป็นระดับการวัดที่ต่ำสุด
การวัดเป็นกลุ่มโดยใช้ตัวเลข
จุดมุ่งหมายของการ
วัดผลการศึกษา
เพื่อวินิจฉัย
เพื่อจัดอันดับหรือจัดตำแหน่ง
เปรียบเทียบหรือทำให้ทราบพัฒนาการของผู็เรียน
เพื่อพยากรณ์
เพื่อค้นหาและพัฒนาสมรรถภาพของผู้เรียน
เพื่อประเมิน
ขอบข่ายในการวัดผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
หลักการในการวัดผลการศึกษา
เลือกตัวแทนของสิ่งที่จะวัดให้เหมาะสม
ใช้ผลจากการวัดให้คุ้มค่า
เลือกใช้วิธีการวัด/เครื่องมือที่หลากหลาย
เลือกใช้วิธีการวัดให้เหมาะสม/เครื่องมือที่มีคุณภาพ
มีความยุติธรรม
กำหนดจุดประสงค์ในการวัดและประเมินผลให้ชัดเจน
ดำเนินการสอบที่มีคุณภาพ
กระบวนการวัดและประเมินผลการศึกษา
ทดสอบและเก็บรวบรวมข้อมูล
จัดกระทำกับข้อมูล
สร้างเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
ตัดสินผลการเรียน
กำหนดจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
กำหนดวัตถุประสงค์
ความสัมพันธ์ระหว่างการวัดและประเมินผล กับกระบวนการเรียนการสอน
องค์ประกอบที่สำคัญ
กิจกรรมการเรียนการสอน
การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้
คำที่เกียวเนื่องกับการประเมิน
Evaluation การตัดสินผู้เรียน
Assessment พิจารณาพัฒนาการของผู้เรียน
การกำหนดวัตถุประสงค์ในการประเมินและสิ่งที่จะประเมิน
การกำหนดสิ่งที่จะประเมิน
เพื่อให้บรรลุความสำเร็จ ต้องมีการกำหนดเป้าหมายที่ชัดเจน
ประเภทของการประเมิน
จำแนกตามวัตถุประสงค์
ประเมินผลระหว่างเรียน
ประเมินผลก่อนเรียน
ประเมินสรุป
จำแนกตามระบบการวัดผล
ประเมินแบบอิงกลุ่ม
ประเมินแบบอิงเกณฑ์
องค์ประกอบของการวัด และการประเมินผล
องค์ประกอบของการวัด
เครื่องมือ/เทคนิคที่ใช้ในการวัด
ปัญหาของสิ่งที่จะวัด
ข้อมูลที่ได้จากการวัด
องค์ประกอบของการประเมิน
ข้อมูล
เกณฑ์
การตัดสินคุณค่า/การตัดสินใจ
ประโยชน์ของการประเมินผลการศึกษา
ประเมินประสิทธิภาพการสอนของครูผู้สอนเอง
ผู้เรียนทราบถึงความสามารถของตนเอง
ช่วยให้ครูกำหนดจุดมุ่งหมายของการสอนชัดเจนขึ้น
เป็นประโยชน์ต่อผู้บริหารสถานศึกษาในการบริหารโรงเรียน
ครูได้ข้อมูลพฤติกรรมของผู้เรียนเบื้องต้น
ความหมายของการวัดผล การทดสอบและการประเมินผล
การทดสอบ หมายถึง เทคนิคที่ใช้ในการวัดผลประเภทหนึ่ง
การประเมินผล หมายถึง การตัดสินคุณค่าของสิ่งที่ได้จากการวัดอย่างมีเหตุผลโดยเทียบเกณฑ์หรือมาตรฐานที่ไว้
การวัดผล หมายถึง กระบวนการกำหนดตัวเลขหรือสัญลักษณ์ให้บุคคล
การนำความรู้ไปใช้
สามารถบอกเครื่องมือที่ใช้ในการวัด และผลของการวัดได้
สามารถใช้วิธีการวัดและประเมินผลได้อย่างเหมาะสม
สามารถแยกการวัดและการประเมินผลได้
ความสำคัญของการวัด
และประเมินผลผู้เรียน
ครูต้องวัดและประเมินผลผู้เรียนทุกครั้ง
ที่ได้ดำเนินการจัดการเรียนการสอน
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 มาตรา26
ครูต้องเป็นผู้กำหนดจุดประสงค์ในการเรียนรู้แล้วจึงจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
สถานศึกษาจัดการประเมินผู้เรียนโดยพิจารณาจากพัฒนาการของผู้เรียน