Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพูดเพื่อการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ - Coggle Diagram
การพูดเพื่อการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ
ประเภทของการพูด
1.การพูดทั่วไป
2.การพูดในที่ชุมชน
พรสวรรค์ หรือ พรแสวง
1.พรสวรรค์คือ ความสามารถพิเศษในเรื่องใดเรื่องหนึ่งเฉพาพบุคคล เลียนแบบกันไม่ได้ เป็นคุณลักษณะที่ติดตัวมาตั้งแต่เกิด
2.พรแสวง คือ ความสามารถพิเศษในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ที่เกิดจากการค้นคว้า ฝึกฝน ของบุคคล ซึ่งใครๆก็ทำได้
ความคิดใหม่
1.มนุษย์ทุกคนมีพรสวรรค์
2.มนุษย์ทุกคนต้องแสวงหาพรสวรรค์ของตนเองให้พบ
3.ในโลกนี้ไม่มีคนที่ไม่มีพรสวรรค์ มีแต่คนที่ไม่ยอมแสวงหาพรสวรรค์ของตนเองให้พบเท่านั้น
สัจธรรมแห่งการสื่อสาร
1.ทักษะในการสื่อสารต้องใช้พรแสวงมากกว่าพรสวรรค์
2.คิดไว้ก่อนเสมอว่าการสื่อสารของเราอาจถูกตีความผิดพลาดๆด้
3.อย่าห่วงว่าสิ่งที่พูดไปจะไม่ชัดเจนให้ห่วงว่าเขาจะเข้าใจผิดหรือไม่
4.ความหมายของการพูดนั้นไม่สามารถหาได้ในพจนานุกรม
5.วิธีการพูดสำคัญมากกว่าสิ่งที่เราพูด
6.เมื่อใดมีคนสองคนมาอยู่ด้วยกันเมื่อนั้นย่อมมีการสื่อสารเกิดขึ้น
7.ร้อยละ 87 ของข่าวสารนั้นเข้าไปอยู่ในจิตใจคนได้ด้วยทางตา
8.การสื่อสารเป็นกระบวนการที่ ซับซ้อน ต่อเนื่อง เคลื่อนไฟวและเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
เราต้องฝึกพูดไปทำไม
1.เพื่อการสื่อสารกันด้วยคำพูดที่ถูกต้อง
2.เพื่อการเป็นผู้นำที่ดี
3.เพื่อเป็นการวางรากฐานประชาธิปไตย
4.เพื่อเป็นการสร้างมนุษย์สัมพันธ์
5.เพื่อเป็นการพัฒนาบุคลิกภาพ
กลยุทธ์ในการทำให้เข้าฟังเรา
1.วาดภาพเป้าหมายในการสื่อสาร
2.รู้จักผู้ฟัง
3.รู้จักตัวเองในฐานะนักสื่อสาร
4.ทำให้ผู้ฟังมองเห็นภาพ
5.ทำให้ผู้ฟังเชื่อมั่นในตัวเรา
6.สร้างความรู้สึกที่ดีแก่ผู้ฟัง
7.ควบคุมเวลาและสถานที่
8.ประเมินการตอบสนองผลลัพธ์
การสื่อสารด้วยวาจาที่มีประสิทธิผล
ระดับที่1 ขั้นเริ่มต้น พนักงาน
1.รับฟังข้อมูลและความคิดเห็นของผู้อื่น
2.ให้ผู้อื่นแสดงความคิดเห็นโดยไม่ขัดจังหวะ
3.ให้ข้อมูลรายละเอียดที่ถูกต้องชัดเจนในเรื่องทราตนเองรับผิดชอบแก่ผู้อื่นได้
4.แสดงความคิดเห็นอย่างไม่เป็นทางการแก่ผู้อื่นได้
ระดับที่ 2 พนักงานอาวุโส
1.แสดงออกถึงความกระตือรือร้นที่จะรับฟังและตอบข้อซักถามของผู้อื่น
2.เข้าใจและแยกแยะประเด็นที่ซักถามและสามารถตอบข้อซํกถามจากผู้ฟังได้
3.จัดระบบและเสนอความคิดเห็นของตนเองแก่สมาชิกในทีมอย่างมีเหตุผล
ระดับที่3 หัวหน้างาน
1.ใช้นำเสียงและคำพูดที่สื่ออกมาได้อย่างเหมาะสมกับกลุ่มผู้ฟังที่หลากหลายได้
2.นำเสนอข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอต่างๆต่อกลุ่มผู้ฟังที่แตกต่างกันได้
3.ปรับเปลี่ยนเนื้อหาและวิธีการสื่อสารให้เหมาะสมตามสถานการณ์ต่างๆ
4.มีเทคนิคและวิธีการสื่อสารกับกลุ่มคน ที่แสดงออกถึงความเป็นมิตรได้
4.ระดับที่4 ผู้จัดการ
1.ยกตัวอย่างประสบการณ์ที่ประสบความสำเร็จในการทำงานให้ผู้อื่นเห็นภาพ
2.โน้มน้าวจูงใจและกระตุ้นผู้ฟังให้มีความคิดคล้อยตามและปฎิบัติตาม
3.ช่วยเหลือผู้อื่นในการสื่อสารกับกลุ่มคนที่แสดงออกถึงความไม่เป็นมิตร
4.สอนผู้อื่นถึงหลักและวิธีการสื่อสารกับกลุ่มคนที่มีลักษณะที่แตกต่างได้
5.ระดับที่ 5 ผู้อำนวยการ
1.แจงข้อมูลรายละเอียดที่สำคัญระดับองค์กรได้ เช่น กลยุทธ์ นโยบาย แก่ผู้อื่นได้
2.เจรจาต่อรองกับผู้อื่นในสถานการณ์ที่มีความเสี่ยงสูงหรือประเด็นที่กำลังอยู่ในความสนใจได้ดี
3.ให้คำปรึกษาแนะนำแก่ผู้อื่นในการสื่อสารกับบุคคลที่เป็นปัญหาหรือจูงใจอยากได้
4.เป็นตัวแทนขององค์กรในการถ่ายทอดเทคนิคการสื่้อสารที่มีประสิทธิภาพ
อุปสรรคของการพูด
1.ผู้พูด พูดไม่เข้าใจ
2.ผู้ฟังเข้าใจผิด ตีความผิด
3.วิธีการพูดที่ผิด
4.บรรยากาศไม่เอื้ออำนวย
5.สื่อสารผิดกาละเทศะ
6.เครื่องมือไม่ดี
7.ความวิตกกังวลของผู้พูด
การพูดที่ควรหลีกเลี่ยงในการทำงาน
1.การพูดเหน็บแนมแกมประชด
2.การพูดโผงผาง
3.การพูดเกินจริง
4.การพูดประจบสอพอ
5.การพูดดูถูกเหยียดหยาม
6.การพูดนินทา
7.การพูดแบบคิดไปเอง
หัวใจของการเป็นนักพูด
1.มีใจรักที่จะเป็นนักพูด
2.ขยันหมั่นฝึกซ้อม
3.มีความตั้งใจจริง
4.ศึกษาหาความรู้อยู่เสมอ
5.เป็นนักฟังที่ดี
บุคลิกภาพของนักพูดที่ดี
1.บุคลิกภาพภายนอก (Character)
1.รูปร่างหน้าตา
2.การแต่งกาย
3.การปรากฎตัว
4.การใช้ท่าทางประกอบการพูด สีหน้า การบืน การเคลื่อนไหว ศีรษะ การใช้มือ
5.การสบตาผู้ฟัง
6.การใช้เสียง
7.ภาษาหรือการใช้คำพูด
2.บุคคลิกภายใน (Traits)
1.ความเชื่อมั่นในตนเอง
2.มีความกระตือรือร้น
3.มีความรอบรู้
4.มีความคิดริเริ่ม
5.มีความจริงใจ
6.มีความจำดี
7.มีปฎิภาณไหวพริบ
8.มีอารมณ์ขัน
องค์ประกอบของผู้พูดที่ผู้ฟังชื่นชอบ
1.รูปร่างดี
2.เสียงดี
3.แต่งกายดี
4.เรื่องที่พูดดี
ลักษณะการพูด3แบบ
1.แบบจูงใจหรือชักชวน ปลุกเร้าให้เกิดความรู้สึก พร้อมพร้อมที่จะปฎิบัติตาม
2.แบบบอกเล่า หรือบรรยาย เป็นการพูดแบบพิธีกร เช่น อบรม สัมนา เป็นต้น
3.แบบบันเทิง เน้นความสนุกสนาน ฟังแล้วเพลิดเพลิน
วิธีการพูด4วิธี
1.วิธีการท่องจำ
2.วิธีการอ่านร่าง
3.วิธีการพูดจากความเข้าใจ
4.การพูดแบบเฉียบพลัน
ลักษณะการขึ้นต้นที่ดี
1.ต้องรวบรัด
2.ต้องเร้าอารมณ์
3.ต้องตรงประเด็น
4.ต้องชวนให้ติดตาม
ข้อควรหลีกเลี่ยงสำหรับการขึ้นต้น
1.อย่าออกตัว
2.อย่าขออภัย
3.อย่าถ่อมตัว
4.อย่าอ้อมค้อม
วิธีการขึ้นต้นที่ดี
1.ขึ้นต้นแบบพาดหัวข่าว
2.ขึ้นต้นด้วยการตั้งคำถาม
3.ขึ้นต้นด้วยการทำให้ผู้ฟังสงสัย
4.ขึ้นต้นด้วยบทกวี
5.ขึ้นต้นด้วยวาทะ คำคม
6.ขึ้นต้นให้สนุกสนาน
ระดับของการพูด
1.พูดให้ถูกต้อง
2.พูดให้เขาชอบ
3.พูดให้เขาเชื่อ
4.พูดให้เขาปฎิบัติตาม
การพูดให้น่าเชื่อถือ
1.สถานะหรือตำแหน่งของผู้พูด
2.บุคลิกภาพของผู้พูด
3.วุฒิภาวะของผู้พูด
4.คุณวุฒิของผู้พูด
5.วุฒิภาวะของผู้ฟัง
6.คุณวุฒิของผู้ฟัง
7.สถานการณ์ขณะที่พูด