Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาออกฤทธิ์ระบบประสาทอัตัโนมัติ - Coggle Diagram
ยาออกฤทธิ์ระบบประสาทอัตัโนมัติ
ระบบประสาทพาราซิมพาเตติก
ยาที่ออกฤทธิ์เพิ่มหารทำงาน
1.ยาออกฤทธิกระตุ้นโดยตรง
-กลุ่มcholine estersได้แก่methacholine, carbachol
และBethanechol โดยโมเลกุลของยากลุ่มนี้มีประจุจึงดูดซึมและเข้าสมองได้
-กลุ่ม Cholinergic alkaloids และสารสังเคราะห์ เช่น muscarine pilocarpine,nicotine,oxotremorine
2.ยาที่ออกฤทธิ์ทางอ้อม
-กลุ่มยาที่มีโครงสร้างแอลกอฮอล์และสารประกอบ guaternaryammonium ได้แก่ edrophonium ออกฤทธิ์ สั้นมากและไม่เข้าสมอง
-กลุ่มCarbamic acid esters ได้แก่ยา neostigmine physostigmine
-กลุ่ม organphosphates ได้แก่ยา isofiuorophate echothiophate
parathion malathion มักใช้เป็นยาฆ่าแมลง
.
ฤทธิ์ไม่พึ่งประสงค์ หายใจลำบาก หน้าแดง เหงือออกง่าย ปวดท้อง เกร็ง
ข้อห้ามใช้ยา กลุ่ม choline esters ในกผู้ป่วยเป็นโรคหืด
ยาที่ออกฤทธิ์ต้านการทำงาน
1.อะโทรปืน ดูดซึมได้ดีทั้งในทางเดินอาหาร ทางเดินหายใจ และกล้ามเนื้อเพื่อรักษาภาวะเป็นพิษเฉียบพลันจากออร์กาโนฟอสฟอรัส และคารบาเมต
2.hyoscine hydrobromid ยับยั้งการทำงานของสารสื่อประสาท acetylcoline ที่ปลายประสาท parsympathetic sirt ในกล้ามเนื้อเรียบ ไม่หกตัว
3.ยาปิดกั้นปมประสาท ยาปิดกั้นประสาทได้แก่ trmethaphan hexamethonium และmecamylamine ใช้ควบคุมความดันเลือดขณะผ่าตัด
4.ยาคลายกล้ามเนื้อ ทำให้กล้ามเนื้อลายเป็นอัมพาต แบ่งเป็น2กลุ่ม
-nondepolarizng ทำให้กล้ามเนื้อไม่ตอบสมองเมื่อกระแสประสาทสั่งมา
-depalarizing ทำให้เกิดการคลสยตัวของกล้ามเนื้อ
botulinum toxin A (boxtox) ฺ เพื่อลดรอยย่นเช่นที่ขมบหน้าหรือรอยตีนกาบริเวณดวงตาอันเนื่องจากฤทธิ์ดังกล่าวได้ชั่วคราว
สารสื่อประสาทในระบบอัตโนมัติ
1.Cholinergic receptorsออกฤทธิกระตุ้นแล้วทำให้ เกิดผลตอบสนองต่างๆ แบ่งออกเป็น2ชนิดคือ1.1 Muscarinic receptors (M) 1.2 Nicotinic receptors (N)
2.Norepinephrine (NE)ถูกหลังจากปลายประสาทadrenergicซึงเป็นpostganglionic fibersของระบบ sympathetic แล้วไปกระตุ้น adrenergic receptors
3.Dopamine (DA) ถูกหลังจากpostganglionic fibers ของระบบsympathetic ซึงไปยังไต ทำให้หลอดเลือดในไตขยาย และยังพบในหลอดเลือด mesenteric ในทางเดินอาหาร
4.Epinephrine (EP) หลังจากต่อมหมวกไตชันใน (adrenal medulla) สู่กระแสเลือด ดังนันจึงมีฤทธิ์เป็นฮอร์โมนมากกว่าสารสื่อประสาท โดยEPกระตุ้น adrenergic receptorsทุกชนิด
5.Nonadrenergic-noncholinergic (NANC) พบในเซลล์ประสาททีเรียกว่าNANC neuronsซึงพบมากในenteric nervous systemในทางเดินอาหาร ทางเดินปัสสาวะ และหลอดเลือดบางแห่ง
ระบบประสาทซิมพาเตติก
ยาที่กระตุ้นการออกฤทธิ์
1.Epinephrine (Adrenaline ) ออกฤทธิ์กระตุ้น แอลฟาและบีต้า receptor ทำให้รูม่านตาขยาย กล้ามเนื้อเรียบของมดลูกขายตัว
2.Dopamine ออกฤทธิ์กระตุ้นที่แอลฟ่า 1 บีต้า1 และdopaminergic receptor ได้มากกว่า บีต้า2 ในผู้ป่วยช็อค
3.ยากลุ่มออกฤทธิ์กระตุ้นแอลฟา1 adrnergic receptot 3.1 Phenylephrine ทำให้หลอดเลือดหดตัว และใช้เป็นยาหยดตาเพื่อทำให้รูม่านตาขยาย
3.2 Metaminol กระตุ้้นให้ปล่อยnorepinephrine ระกษาภาวะความดันโลหิตต่ำเฉียบพลัน
3.3 Midodrine ใช้รักษาผู้ป่วยความดันโลหิตต่ำขณะเปลี่ยนท่า
4.ยากลุ่มออกฤทิธิ์กระตุ้น บีต้า2-adrenergic receptors
4.1 terbutalineปนยาทีใช้ระยะยาวเพือขยายหลอดลมในผู้ปวยโรคหืดหลอดลมอักเสบ เรือรัง ถุงลมโปงพอง
4.2 Albuterol มีประโยชน์ทางการรักษาเช่นเดียวกับterbutaline
5ยากลุ่มอืนๆเช่นEphedrine ยาตัวนีออกฤทธิกระตุ้นได้ทังในแอลฟาและบีต้าใช้ขยายหลอดลมในผู้ป่วยหอบหืด
ยาที่ออกฤทธิ์ปิดกั้น
ยาออกรฤทธิ์ปิดกั้นบีต้า -Adrenergic receptot
1.Propranolol ออกฤทธิปิดกัน.บีต้า-adrenergic receptorsได้ทุกชนิด ยานี้ไม่มีISA ถูกดูดซึมทางเดินอาหารได้เกือบสมบรูณ์
3.Labetalol มีคุณสมบัติปิดกั้นได้ทั้งบีต้าและแอลฟา -Adrenerptors recetors ทำให้ความดันโลหิตสูง
4.Carvidilol ออกฤทธิ์ปิดกั้นบีต้าและแอลฟา1 .1-adrenergic receptors ทำให้ออกซิเดชันและยับยั้งไม่ให้ผิวหนังหลอดเลือดหนาขึ้น มีประโยชน์ในผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว
2.Metoprolol,Atenololออกฤทธิปิดกันเฉพาะ.บีต้า1-adrenergic receptors จึงไม่ทำให้หลอดลมหดเกร็งเหมือนpropranalpl
ยาออกฤทธิ์ปิดกั้นแอลฟา-adrenergic receptors
1.Phenoxybenzamine ออกฤทิ์ปิดกั้นแลฟา1และแอลฟา2 adrenergic receptorsใช้ในผู้ป่วยที่เป้นเนื้องอกที่ต่อมหมวกไต
2.Phentolaminำ ออกฤทิ์ปิดกั้นทั้งแอลฟา1และแอลฟา2 ใช้ในผู้ป่วยที่มีภาวะความดันสูง
3.Prazosinออกฤทิ์ ปิดกั้น แอลฟ่าและแอลฟา2 ที่หลอดเลือดดำและแดงรักษาภาวะความดันใรเลือดสูง
4..Yohimbine ออกฤทธิ์ปิดกั้นแอลฟา2 มีผลต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด