Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สมบัติของสารประกอบอินทรีย์ :explode: - Coggle Diagram
สมบัติของสารประกอบอินทรีย์ :explode:
สมบัติทางกายภาพ
สถานะ สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีมวลโมเลกุลต่างๆ
การละลายน้ า สารประกอบไฮโดรคาร์บอนส่วนใหญ่ไม่ละลายน้ า ละลายได้ในตัวท าละลายอินทรีย์
เฮกเซน
เพนเทน
มีจำนวนคาร์บอนน้อยๆ มีสถานะเป็นก๊าซ
จำนวนคาร์บอนมากขึ้น
มีสถานะเป็นของเหลวและของแข็งตามล าดับ
CH4
เป็นก๊าซ C5H12 เป็นของเหลว
C20H22 เป็นของแข็ง
ความหนาแน่น มีความหนาแน่นน้อยกว่าน้ าหรือน้อยกว่า 1 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร
จุดเดือดและจุดหลอมเหลว จะแปรผันตามมวลโมเลกุลหรือแปรผันตามจ านวนคาร์บอนในกรณีไอโซ
เมอร์
มีมวลโมเลกุลเท่ากัน ไอโซเมอร์ที่มีกิ่งก้านมากกว่าจะ
มีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวต่ ากว่าไอโซเมอร์ที่ไม่มีกิ่ง
ก้าน
การเผาไหม้ของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
การเผาไหม้อย่างสมบูรณ์
ไม่สมบูรณ์
การเผาไหม้อย่างสมบูรณ์ สารประกอบไฮโดรคาร์บอนทุกชนิดเมื่อเผาไหม้จะให้ก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์
C5H10+ O2-> CO2+ H2O
การเผาไหม้อย่างไม่สมบูรณ์ จะเกิดเขม่า ปริมาณเขม่าพิจารณาจากจ านวนคาร์บอนเท่ากัน
จ านวนไฮโดรเจนมาก เขม่าจะน้อย
จ านวนไฮโดรเจนน้อย เขม่าจะมาก
สมบัติทางเคมี
สารประกอบเคมีอินทรีย์จะหลอมเหลวหรือสะลายตัวที่อุณหภูมิต่ำกว่า 300 °C
สารประกอบเคมีอินทรีย์เป็นสารประกอบที่เกิดจากการดึงดูดกันระหว่างอะตอมของธาตุต่างๆ ด้วยพันธะโคเวเลนต์
ประกอบด้วยธาตุ C เป็นหลัก และธาตุอื่นๆเช่น H , N , O , S , Cl , Br
การละลายมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับฟังชั่นแนลกรุ๊ป (functional groups) และโครงสร้างทั่วไปของสารด้วย
สารประกอบเคมีอินทรีย์ละลายได้ดีในตัวทำละลายที่เป็นสารอินทรีย์
แอลกอฮอล์
อีเทอร์ (ether)
สารประกอบเคมีอินทรีย์ที่เป็นกลางจะละลายในน้ำได้น้อยกว่าสารประกอบอนินทรีย์เคมีประเภทเกลือยกเว้นสารประกอบเคมีอินทรีย์ประเภทไอออนิก และประเภทน้ำหนักโมเลกุลต่ำๆอย่างแอลกอฮอล์และกรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acids)
การตั้งชื่อและการจัดหมวดหมู่
สารประกอบเฮเทอโรไซคลิก (Heterocyclic compounds)
เป็นสารประกอบที่มีวงแหวนที่ประกอบด้วยอะตอมต่างชนิด (heteroatom) กัน ซึ่งอะตอมเหล่านี้อาจเป็น ออกซิเจนไนโตรเจน ฟอสฟอรัส หรือกำมะถัน
อิมิดาโซล (Imidazole)
อินโดล (Indole)
ไพริดีน (Pyridine)
ไพร์โรล (Pyrrole)
ไทโอฟีน (Thiophene)
ฟูแรน (Furan)
พูรีน (Purine)
หมู่ฟังก์ชัน (Functional groups)
แอลกอฮอล์ (Alcohol)
แอลดีไฮด์ (Aldehyde)
สารประกอบอะลิไซคลิก (Alicyclic compound)
อะไมด์ (Amide)
อะมีน (Amine)
คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate)
กรดคาร์บอกซิลิก (Carboxylic acid)
เอสเตอร์ (Ester)
อีเทอร์ (Ether)
คีโตน (Ketone)
ลิพิด (Lipid)
เมอร์แคปแทน (Mercaptan)
ไนไตรล์ (Nitrile)
สารประกอบแอโรแมติก (Aromatic compounds)
เป็นสารประกอบที่มีส่วนหนึ่งส่วนใดของโมเลกุลเป็นวงแหวน (aromatic systems)
เบนซีน (Benzene)
โทลูอีน (Toluene)
สไตรีน (Styrene)
ไซลีน (Xylene)
อะนิลีน (Aniline)
ฟีนอล (Phenol)
อะเซโตฟีโนน (Acetophenone)
เบนโซไนไตรล์ (Benzonitrile)
แฮโลอะรีน (Haloarene)
แนฟทาลีน (Naphthalene)
แอนทราซีน (Anthracene)
ฟีแนนทรีน (Phenanthrene)
เบนโซไพรีน (Benzopyrene)
โคโรนีน (Coronene)
อะซูลีน (Azulene)
ไบฟีนิล (Biphenyl)
พอลิเมอร์ (Polymers)
พอลิเมอร์เป็นโมเลกุลชนิดพิเศษมีขนาดใหญ่ประกอบด้วยโมเลกุลย่อยๆ ต่อเรียงกัน ถ้าโมเลกุลย่อยเป็นชนิดเดียวกันจะเรียกพอลิเมอร์นี้ว่า"โฮโมพอลิเมอร์" (homopolymer) และถ้าโมเลกุลย่อยเป็นต่างชนิดกันจะเรียกพอลิเมอร์นี้ว่า"เฮตเทอโรพอลิเมอร์" (heteropolymer)
พอลิเมอร์ประเภทสารอนินทรีย์
ซิลิโคน (silicone)
พอลิเมอร์ชีวภาพไบโอพอลิเมอร์
โปรตีน (proteins)
กรดนิวคลีอิก (nucleic acids)
พอลิแซ็กคาไรด์ (polysaccharides)
พอลิเมอร์ประเภทสารอินทรีย์
พอลิเอทไทลีน (polyethylene)
พอลิโพรไพลีน (polypropylene)
เพลกซิกลาซส์ (Plexiglass) , ฯลฯ
สารประกอบแอลิฟาติก (Aliphatic compounds)
เป็นสารประกอบที่มีอะตอมของคาร์บอนต่อกันเป็นโซ่ยาว (hydrocarbon chains) และไม่มีอะตอมของคาร์บอนต่อกันเป็นวงแหวน (aromatic systems)
ไฮโดรคาร์บอน (Hydrocarbon)
แอลเคน (Alkane)
แอลคีน (Alkene)
ไดเอ็น หรือ แอลคาไดอีน (Dienes or Alkadienes)
แอลไคน์ (Alkyne)
แฮโลแอลเคน (Haloalkane)