Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Autonomic nervous system, :ทั้งสองกลุ่มออกฤทธิ์กระตุ้น muscarinic…
Autonomic nervous system
1.ยาที่ออกฤทธิ์เพิ่มและต้านการทำงานของระบบประสาทพาราซิมพาเทติก
1.1ยาเพิ่มการทำงานของระบบประสาทพาราซิมพาเทติก
หรือ (Cholinomimetic drugs) ยากลุ่มนี้แบ่งออกเป็น 2กลุ่ม
1.1.1.ยาออกฤทธิ์กระตุ้นโดยตรง cholinergic receptors แบ่งตามโครงสร้างเคมีได้เป็น 2 กลุ่มย่อย
กลุ่ม 1 choline esters
methacholine
carbachol
bethanechol
กลุ่ม 2 cholinergic alkaloids
nicotine (ดูดซึมที่ผิวหนังได้ดี)
lobeline
pilocarpine
(ใช้ในโรคต้อหิน)
oxotremorine
muscarine (ถูกดูดซึมจากทางเดินอาหารได้ไม่ดีนัก)
อาการข้างเคียง
มองภาพไม่ชัด
ปวดท้องเกร็ง เรอ
เหงื่อออกมาก
ปวดศีรษะ
หน้าแดง
หายใจลำบาก
น้ำลายออกมาก
อาการพิษ
อาการพิษที่เกิดจากการกระตุ้น muscarinic receptors
คลื่นไส้ อาเจียน
การเคลื่อนไหวของระบบทางเดินอาหารและระบบทางเดินปัสสาวะ
เพิ่มขึ้น
หลอดลมหดเกร็ง
เหงื่อออกมาก หลอดเลือดขยาย อัตราการเต้นของหัวใจเต้นลดลง
รูม่านตาหรี่ ตาปรับภาพ
ไม่ได้
อาการพิษที่เกิด
จากการกระตุ้น nicotinic receptors
ปมประสาทและระบบประสาทส่วนกลางถูกกระตุ้น
กล้ามเนื้อ
ลายเกิดการหดตัวไม่สานกัน กล้ามเนื้อเปลี้ยเป็นอัมพาต
ข้อห้ามการใช้ยากลุ่มนี้ โดยห้ามใช้ยากลุ่ม cholinesterase
ในผู้ป่วยที่เป็นโรคหืด ผู้ป่วยต่อม
ไทรอยด์ทำงานเกิน ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ
และผู้ป่วยมีกรดในกระเพาะอาหารมากเกินไป
1.1.2.ยากลุ่มออกฤทธิ์โดยทางอ้อม
carbamic acid esters
neostigmine, physostigmine
organphosphates
isofluorophate
echothiophate
parathion
parathion
กลุ่มที่มีโครงสร้างเป็นแอลกอฮอล์และสารประกอบ quaternary ammonium
edrophonium
ซึ่งเป็นยาที่มีช่วงเวลาออกฤทธิ์สั้นมากและไม่เข้าสมอง
เนื่องจากเป็นสารมีประจุ
1.2 ยาต้านการทำงานของระบบปรพสารทพาราซิมพาเทติก (parasympatholytic drugs หรือanticholinergic drugs)
ออกฤทธิ์ปิดกั้น muscarinic receptors
ทำให้ acetylcholine ไม่สามารถออกฤทธิ์ได้
ได้จากพืช atropine, scopolamine
ใช้รักษาผู้ป่วย bradycardia
ห้ามใช้ใน ผู้ป่วยโรคต้อหินชนิดมุมแคบ
ยาสังเคราะห์ propantheline,
glycopyrrolate, pirenzepine, tropicamide dicyclomine, ipratropium, benztropine
ประโยชน์ทางการรักษาของยาที่ปิดกั้น muscarinic receptors
3.ระบบหัวใจและหลอดเลือด ใช้ในภาวะหัวใจขาดเลือด
4.ระบบทางเดินอาหาร ใช้บรรเทาอาการท้องเดิน
2.ระบบหายใจ เพื่อลดการหลั่งเมือก ขยายหลอดลมในผู้ป่วยโรคหอบหืด
5.ระบบทางเดินปัสสาวะ ใช้ในกรณีกลั้นปัสสาวะไม่ได้
1.ระบบประสาทส่วนกลาง ใช้รักษาโรคพาร์กินสัน รักษาอาการเมารถเมาเรือ
6.จักษุวิทยา ใช้เพื่อการวินิจฉัยโรคตาบางชนิด และเพื่อป้องกันการติดของม่าน
ตากับเลนส์ตา
2.ยาที่มีผลต่อระบบประสาทซิมพาเทติก
ยาออกฤทธิ์กระตุ้น adrenergio receptors และยาออกฤทธิ์เลียนแบบ การกระตุ้นระบบ ประสาทซิมพาเทติก
1.กลุ่มยาในร่างกาย หลั่ง จากปลายประสาท postganglionic ไดแ้ก่norepinephrine, epinephrineและ dopamine
2.ยาออกฤทธิ์กระตุ้นเบต้า เช่น isoproterenol
3.ยาออกฤทธิ์ กระตุ้นแอลฟา เช่น methoxamine
กลุ่มอื่นๆ ออกฤทธิ์ ในระบบประสาทส่วนกลาง เช่น amphetamine, ephedine
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
1.กลา้มเน้ือเรียบของหลอดเลือดที่เล้ียงบริเวณผิวหนังหดตัว กระตุ้นต่อมมีท่อต่างๆ
2.กระตุน้กลา้มเน้ือเรียบของทางเดินอาหาร หลอดลม และหลอดเลือดที่เล้ียงกลา้มเน้ือลายหดตวั
3.กระตุน้ หัวใจอตัราการเตน้และแรงบีบตวัเพิ่มข้ึน
4.กระตุ้นการสลายไกลโคเจนในตบั ในกลา้มเน้ือลายและเพิ่มสลายไขมนั
5.ออกฤทธิ์ ต่อมไร้ท่อ
6.ออกฤทธิ์ ในระบบประสาทส่วนกลาง เช่น กระตุ้นศูนย์หายใจ
ประโยชน์ทางการรักษา
1.ใช้ในโรคระบบหายใจและหลอดเลือด
2.ใช้ในผู้ป่ วยต่อมไทรอยด์ท างานมากเกิน
3.ใช้ลดความดันในลูกตาของโรคต้อหิน
4.ใช้ในผู้ป่ วยกังวลทางกาย
5.ป้องกันการปวดศีรษะไมเกรน
ฤทธิ์ ไม่พึงประสงค์ อาจท าให้เกิดภาวะหัวใจล้มเหลว หลอดลมหดเกร็ง หายใจไม่สะดวก
อ่อนเพลีย นอนไม่หลบั ฝันร้าย ซึมเศร้าและภาวะน้า ตาลในเลือดต่า
ขอ้ห้ามใชย้า ห้ามใชย้ากลุ่มน้ีในผูป้่วยช็อกโรคหัวใจบางชนิด ผู้ป่ วยทางเดินหายใจถูกปิดก้นั
ระวังในผู้ป่ วยเบาหวานที่ต้องพึ่งอินซูลิน
:ทั้งสองกลุ่มออกฤทธิ์กระตุ้น muscarinic receptors ยกเว้น nicotine ออกฤทธิ์กระตุ้น nicotinic receptors
(โมเลกุลของยามีประจุจึงถูกดูดซึมและเข้าสมองได้น้อย)
รักษาความผิดปกติของระบบทางเดินอาหาร และระบบทางเดินปัสวะ
( เกิดจากฤทธิ์จากการกระตุ้น muscarinic receptors และ nicotinic
receptors มากเกิน )
นี้แบ่งออกตามโครงสร้าง
ทางเคมีได้ 3 กลุ่ม
ยากลุ่มนี้มักใช้เป็นยาฆ่าแมลง
632111012 นางสาวฎาลัยลา กาลอ