Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาออกฤทธิ์ในระบบประสาทอัติโนมัติ, ยา - Coggle Diagram
ยาออกฤทธิ์ในระบบประสาทอัติโนมัติ
ระบบประสาทซิมพาเทติก
ยาที่ออกฤทธิ์กระตุ้น
1.Epinephrine (Adrenaline )
ออกฤทธิ์กระตุ้นทั้ง α-receptors และ β-receptorทําให้รูม่านตาขยาย,กล้ามเนือเรียบของมดลูกคลายตัว
2.Dopamine
ออกฤทธิ์กระตุ้นที่Alpha1(α1)Beta1 (β1),และdopaminergic receptor ได้มากกว่า Beta2-recepter (β2) ใช้ในผู้ป่วยช็อค
3.ยากล่มุออกฤทธิ์กระตุ้น α1-adrenergic receptors
3.1 Phenylephrineทําให้หลอดเลือดหดตัว และใช้เป็นยาหยอดตาเพื่อทำให้รูม่านตาขยาย
3.2 Metaraminol กระตุ้นให้มีการปล่อยnorepinephrineรักษาภาวะความดันโลหิตต่ำเฉียบพลัน
3.3 Midodrine ใช้รักษาผู้ป่วยความดันโลหิตต่ำขณะเปลี่ยนท่า
4.ยากล่มุออกฤทธิ์กระตุ้น β2-adrenergic receptors
4.1 terbutaline เป็นยาที่ใช้ระยะยาวเพื่อขยายหลอดลมในผู้ป่วยโรคหืดหลอดลมอักเสบ เรื้อรัง ถุงลมโป่งพอง
4.2 Albuterol มีประโยชน์ทางการรักษาเช่นเดียวกับterbutaline
5.ยากลุ่มอื่นๆ เช่น Ephedrine ยาตัวนี้ออกฤทธิ์กระตุ้นได้ทั้งα และ β-receptor ใช้ขยายหลอดลมในผู้ป่วยหอบหืด
ยาที่ออกฤทธิ์ปิดกั้น
ยาออกฤทธิ์ปิดกั้น β-adrenergic receptors
1.Propranolol ออกฤทธิ์ปิดกั้น β-adrenergic receptors ได้ทุกชนิด ยานี้ไม่มี ISA ถูกดูดซึมจากทางเดินอาหารได้เกือบสมบูรณ์
2.Metoprolol,Atenolol ออกฤทธิ์ปิดกั้นเฉพาะ β1-adrenergic receptors จึงไม่ทำให้ หลอดลมหดเกร็งเหมือน Propranolol
3.Labetalol มีคุณสมบัติพิเศษคือ ปิดกั้นได้ทั้ง β-adrenergic receptors และ α-adrenergic receptors ทำให้ยานี้มีประโยชน์ในการรักษาโรคความดันโลหิตสูง
4.Carvidilol ออกฤทธิ์ปิดกั้น β-adrenergic receptors และ α1-adrenergic receptors มีฤทธิ์ต้านออกซิเดชันและยับยั้งไม่ให้ผนังหลอดเลือดหนาขึ้น มีประโยชน์ในผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว
ฤทธิ์ไม่พึงประสงค์ ทำให้หลอดเลือดเกร็ง หายใจไม่สะดวก อ่อนเพลีย นอนไม่หลับ ฝันร้าย อารมณ์ซึมเศร้า
ข้อห้ามใช้ยา ห้ามใช้ยากลุ่มนี้ในผู้ป่วยช๊อคที่มีสาเหตุ จากหัวใจ (Cardiogenic shock)ในผู้ป่วยโรคหัวใจบางชนิด
ยาออกฤทธิ์ปิดกั้น α-adrenergic receptors
1.Phenoxybenzamine ออกฤทธิ์ปิดกั้นได้ทั้ง α1 และ α2-adrenergic receptorsใช้ในผู้ป่วยที่เป็นที่เป็นเนื้องอกที่ต่อมหมวกไต
2.Phentolamine ออกฤทธิ์ปิดกั้นทั้งα1 และ α2-adrenergic receptors ใช้ในผู้ป่วยภาวะความดันเลือดสูงวิกฤต
3.Prazosin ออกฤทธิ์ปิดกั้น α1-adrenergic receptors ที่หลอดเลือดแดงและดำ รักษาภาวะความดันเลือดสูง
4.Yohimbine ออกฤทธิ์ปิดกั้น α2-adrenergic receptors มีผลต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด
ฤทธิ์ไม่พึงประสงค์ ทำให้ความดันเลือดลดลงเมื่อเปลี่ยนท่าและทำให้อัตราการเต้นของหัวใจเพิ่มขึ้น
ข้อห้ามใช้ยา ระวังการใช้ยากลุ่มนี้ในหญิงมีครรภ์ หญิงให้นมบุตร ผู้สูงอายุ
สารสื่อกระแสประสาทในระบบประสาทอัตโนมัติ
1.Cholinergic receptors ออกฤทธิ์กระตุ้นแล้วทำให้ เกิดผลตอบสนองต่างๆ แบ่งออกเป็น2ชนิดคือ
1.1 Muscarinic receptors (M) 1.2 Nicotinic receptors (N)
2.Norepinephrine (NE) ถูกหลังจากปลายประสาท adrenergic ซึ่งเป็น postganglionic
fibersของระบบ sympathetic แล้วไปกระตุ้น adrenergic receptors
3.Dopamine (DA) ถูกหลั่งจากpostganglionic fibers ของระบบ sympathetic ซึ่งไปยังไต ทํา
ให้หลอดเลือดในไตขยาย และยังพบในหลอดเลือด mesenteric ในทางเดินอาหาร
4.Epinephrine (EP) หลั่งจากต่อมหมวกไตชั้นใน(adrenal medulla) สู่กระแสเลือด ดังนั้นจึง
มีฤทธิ์เป็นฮอร์โมนมากกว่าสารสื่อประสาท โดย EP กระตุ้น adrenergic receptors ทุกชนิด
5.Nonadrenergic-noncholinergic (NANC) พบในเซลล์ประสาทที่เรียกว่า NANC neurons
ซึ่งพบมากใน enteric nervous system ในทางเดินอาหาร ทางเดินปัสสาวะ และหลอดเลือดบางแห่ง
ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก
ยาที่ออกฤทธิ์เพิ่มการทำงาน
1.ยาออกฤทธิ์กระตุ้น cholinergic receptors โดยตรง
-กลุ่ม choline esters ได้แก่ methacholine, carbachol และbethanechol
โดยโมเลกุลของยากลุ่มนี้มีประจุจึงถูกดูดซึมและเข้าสมองได้น้อย
-กลุ่ม cholinergic alkaloids และสารสังเคราะห์เช่น muscarine, pilocarpine, nicotine , lobeline , oxotremorine
2.ยากลุ่มออกฤทธิ์โดยทางอ้อม
-กลุ่มที่มีโครงสร้างเป็นแอลกอฮอลล์และสารประกอบ quaternaryammonium ได้แก้
edrophonium ออกฤทธิ์สั้นมากและไม่เข้าสมอง
-กลุ่ม carbamic acid esters ได้แก่ยา neostigmine, physostigmine
-กลุ่ม organphosphates ได้แก่ ยา isofluorophate, echothiophate, parathion,
malathion มักใช้เป็นยาฆ่าแมลง
ฤทธิ์ไม่พึงประสงค์ หายใจลำบาก หน้าแดง เหงื่ออกมาก ปวดท้องเกร็ง
ข้อห้ามใช้ยา กลุ่ม choline esters ในผู้ป่วยที่เป็นโรคหืด
ยาที่ออกฤทธิ์ต้านการทำงาน
1.อะโทรปีน (atropine) หรือ hyoscyamine ดูดซึมได้ดีทั้งในทางเดินอาหาร ทางเดินหายใจ และกล้ามเนื้อเพื่อใช้รักษาภาวะเป็นพิษเฉียบพลันจากออร์กาโนฟอสฟอรัสและคาร์บาเมต
2.Hyoscine hydrobromide ยับยั้งการทำงานขแงสารสื่อปรพสาท acetylcoline ที่ปลายประสาท parasympathetic site ในกล้ามเนื้อเรียบ ทำให้กล้ามเนื้อเรียบไม่หดตัว
3.ยาปิดกั้นปมประสาท (ganglionic blockers) ยาปิดกั้นปมประสาท ได้แก่ trimethaphan hexamethonium และ mecamylamine ใช้ควบคุมความดันเลือดขณะผ่าตัด
4.ยาคลายกล้ามเนื้อ (neuronmuscular blockers หรือ muscle relaxants)
ทำให้กล้ามเนื้อลายเป็นอัมพาต แบ่งเป็น2กลุ่ม
-nondepolarizing ทําให้กล้ามเนื้อไม่ตอบสนองเมื่อกระแสประสาทสั่งมา
-depolarizing ทําให้เกิดการคลายตัวของกล้ามเนื้อ
5.Botulinum toxin A (Botox)เพื่อลดรอยย่น เช่น ที่มบหน้าหรือรอยตีนกาบริเวณรอบดวงตา อันเนื่องจากฤทธิ์คลายกล้ามเนื้อแต่ฤทธิ์ดังกล่าวอยู่ได้ชั่วคราว