Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แผนผังการใช้ความคิด, นางสาวปาริชาติ เศษลือ รหัส 62110123 - Coggle Diagram
แผนผังการใช้ความคิด
สถิติที่นำมาใช้ในงานวิจัย
สถิติพรรณา (Descriptive statistics)
ใช้เพื่ออธิบายข้อมูล และสังเคราะห์ข้อมูล
หลักสำคัญของสถิติเชิงพรรณนา ก็คือ เก็บข้อมูลชนิดใดมาได้ ก็จะต้องอธิบายได้เฉพาะข้อมูลชนิดนั้น ไม่สามารถอ้างอิงถึงข้อมูลในส่วนอื่นๆได้
สถิติอ้างอิง (Inferential statistics)
เป็นการนำผลข้อมูลที่เก็บมาได้จากกลุ่มตัวอย่าง (Sample)
ไปใช้อ้างอิง และอธิบายถึงกลุ่มประชากร (Population) ทั้งหมด
การบรรยายหรือสรุปผลจะใช้หลักความน่าจะเป็น (Probability)
มาทดสอบสมมติฐาน
ข้อมูล
ข้อเท็จจริงที่ ก็บรวบรามมาด้วขจุดประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่งจากตัวอย่าง
หรือประชากร แบ่งตามลักษณะข้อมูล
1.ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative data)
2.ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative data)
การกระจายความถี่
(Frequency Distribution)
การวัดการกระจาย
(Measure of Variation)
การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย(Comparing means)
สถิติทดสอบความสัมพันธ์
(Correlational Analysis Statistics)
สถิตินอนพาราเมตริก(Nonparametric Statistics)
สถิติแบบนอนพาราเมตริกซ์ (Nonparametric tests)
ใช้กับข้อมูลที่มีระดับการวัดแบบ nominal or ordinal scale
การกระจายของข้อมูลที่วัดไม่จำเป็นต้องกระจายเป็นโค้งปกติ(Data distribution free or data distribution is markedly
skewed)
ค่าความแปรปรวนของกลุ่มประชากรไม่จำเป็นต้องเท่ากัน หรือเราไม่ทราบว่าเท่ากันหรือไม่
Non-Parametric
Mann-Whitney U Test
Wilcoxon Signed Rank Test
Kruskal Wallis H Test
Pearson Correlation เป็นการหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2 ตัวที่อยู่ในมาตราการวัดระดับ Interval หรือ Ratio Scale
Spearman correlation การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของ
2 ตัวแปลต่อเนื่อง ในกรณีที่มีตัวแปลไม่ได้มีการแจกแจงปกติ
Chi-squared ทดสอบความสัมพันธ์ระหว่าง 2 ตัวแปลที่เป็นลักษณะกลุ่ม
สถิติพาราเมตริก (Parametric Statistics)
การทดสอบสถิติพาราเมตริกซ์ (Parametric Statistical tests)
สถิติเชิงอ้างอิง (Inferential Statistics) ที่ศึกษาบรรยายคุณลักษณะตัวแปรของประชากร จากข้อมูลของกลุ่ม
ตัวอย่าง
ค่าสถิติเป็นคำที่วิเคราะห์จากข้อมูลของตัวเปรที่มีค่าต่อเนื่อง
ใช้กับข้อมูลที่อย่างน้อยมีการวัดอยู่ในช่วงมาตร (Ihterval scale) และระดับอัตราส่วนมาตรา (Ratio scale)
เป็นข้อมูลที่รวบรวมจากกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นตัวแทนที่ดีของประชากรเป้าหมาย
ปัจจัยที่มีผลต่ออำนาจการทดสอบของสถิติพาราเมตริกซ์
(Power of test)
ขนาดกลุ่มตัวอย่าง
วิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง
เป็นไปตามข้อตกลงเบื้องต้น (Assumptions)
หากข้อมูลไม่เป็นไปตามข้อตกลงเบื้องต้น กรใช้สถิตินันพารา
เมตริกซ์
Parametric
Independent t-test
Paired t-test
One-way ANOVA
นางสาวปาริชาติ เศษลือ รหัส 62110123