Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Closed fracture neck of femur (Hemiarthroplasty) กระดูกต้นขาส่วนคอหักข้าง…
Closed fracture neck of femur (Hemiarthroplasty)
กระดูกต้นขาส่วนคอหักข้างซ้าย
พยาธิสภาพ
ลื่นล้มในห้องน้ำสะโพกกระแทกพื้น
กระดูกสะโพกหัก
เส้นประสาทกล้ามเนื้อ ligament และ tendon บริเวณกระดูกที่หักสูญเสียหน้าที่
intraosseous cervical vessels
ไม่สามารถนำเลือดไปเลี้ยงส่วนของหัวกระดูกต้นขาได้
หลอดเลือดของ ligamentum teres และ retinacular vessels นำเลือดไปเลี้ยง
หากกระดูกต้นขาเคลื่อน
retinacular vessels ถูกกด
1 more item...
ข้อมูลผู้ป่วย
ผู้ป่วยหญิงไทย ชื่อนางกุหลาบ หอมดี
อายุ 70 ปี น้ำหนัก 63 กิโลกรัม สูง 155 เซนติเมตร
เชื้อชาติ ไทย สัญชาติไทย ศาสนาพุทธ
สถานภาพคู่ ระดับการศึกษา ประถมศึกษาปีที่ 4
ประกอบอาชีพเกษตรกร
ผู้ป่วยให้ประวัติว่า เมื่อ 2 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล
ลื่นล้มในห้องน้ำ สะโพกกระแทรกพื้น มีอาการ
ปวดบริเวณสะโพกข้างซ้าย ปวดมากเวลาขยับ เดินไม่ได้
แพทย์วินิจฉัยว่า กระดูกต้นขาส่วนคอหักข้างซ้าย (Closed fracture left neck of femur)
จึงรับไว้รักษาในหอผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูก เพื่อผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพก
การผ่าตัด
On skin traction 2 kg.
Bipolar hemiarthroplasty Lt. hip
แผนการรักษา
Order for one day
24/8/64
0.9% NaCl 1000 ml drip 100 ml/hr
CXR, both hip both A-P
CBC, BUN,Cr, Electrolyte , Anti HIV
Group matching PRC 2 unit
U/A
Cefazolin 1 gm & dynastat 1 amp ไป OR
25/8/64
Post -op Bipolar hemiarthroplasty Lt. hip
0.9% NaCl 1,000 ml V drip 100 ml/hr เปลี่ยน IVF เป็น 5 % D/N/2 1,000 drip V 100 ml/hr
MO 4 mg V p.r.n for pain q 4 hr.
Metoclopramide10 mg prn for nausea and vomiting q 6 hr
Hct at ward, if Hct. ≥ 30% please notify
film both hip AP portable, tomorrow
14.30 น
Hct. at ward 29%
O2 sat 95%
Notify แพทย์ทางโทรศัพท์
PRC 1 unit in 4 hr. then repeat Hct tomorrow keep ≥ 30%
O2 cannula 3 LPM
26/7/64
5%D/N/2 1,000 ml V drip 100 ml/hr
MO 4 mg V p.r.n q 4 hr.
Hct หลังให้ PRC 1 unit
Order for continuation
24/8/64
Diet as tolerance
Record V/S
On skin traction 2 kg.
Set OR for Bipolar hemiarthroplasty Lt. hip
tomorrow (25/8/64)
NPO after midnight
Retain Foley’s cath
25/8/64
Post -op Bipolar hemiarthroplasty Lt. hip
Diet as tolerance
Record V/S ,Record I/O, drain
Dressing OD
Retain Foley’s cath
Cefazolin 1 gm q 6 hr.
Gentamycin 240 mg OD
Tramadol (50 mg) 1 tab oral t.i.d pc
Paracetamol (500) 1 tab oral prn q 4-6 hr
14.30 น
NPO
26/8/64
Diet as tolerance
ข้อวินิจฉัยและการพยาบาล
การพยาบาลวันที่ 1
1.ภาวะไม่สุขสบายเนื่องจาก
ปวดสะโพกข้างซ้าย
วัตถุประสงค์
1.เพื่อบรรเทาอาการปวดสะโพก
ข้างซ้ายให้แก่ผู้ป่วย
2.เพื่อเพิ่มความสุขสบายให้แก่ผู้ป่วย
เกณฑ์การประเมิน
1.Pain score ต่ำกว่า 5 คะแนน
ผู้ป่วยสามารถนอนหลับพักผ่อนได้6-8ชั่วโมง
1.ดูแลให้ผู้ป่วยงดน้้าและอาหาร
ตามแผนการรักษา
2.ติดตามวัดสัญญาณชีพทุก 4
ชั่วโมงเพื่อเฝ้าระวังอาการผิดปกติ
3.ดูแลให้ได้รับการใส่สายสวนปัสสาวะแบบคาสาย เพื่อระบายปัสสาวะ
4.ดูแลการถ่วงน้้าหนักตามแผนการรักษาคือ on skintraction 2 Kg.
5.ดูแลให้ได้รับยา Cefazolin 1 gm & dynastat 1 amp ตามแผนการรักษา
6.ภายหลังการให้ยาควรติดตามสัญญาณชีพอย่างต่อเนื่องทุก 15นาทีและประเมินสารน้ำเข้าออกในร่างกาย
1 more item...
2.เสี่ยงต่อภาวะความดันในช่องปิดของกล้ามเนื้อสูงขึ้น
วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้ผู้ป่วยไม่เกิดภาวะความดันในช่องปิดของกล้ามเนื้อสูงขึ้น
เกณฑ์การประเมิน
1.ผู้ป่วยไม่เกิดภาวะความดันในช่องปิดของกล้ามเนื้อสูงขึ้น
1.ดูแลการถ่วงน้้าหนักตามแผนการ
รักษาคือ on skin traction 2 Kg.
จัดท่าให้ขาอยู่ในท่า(Alignment) นอนหงาย เพราะเป็นท่าที่สามารถจัดแนวและแรงการดึงได้ง่าย
3.ประเมินค่าความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดของปลายเท้าทั้งสองข้าง
ขณะที่กำลังทำคอยพูดคุยให้กำลังใจและสังเกตอาการผิดปกติของผู้ป่วยพร้อมกับการใช้Touching technique
5.ประเมินความรู้สึกโดยการสัมผัสบริเวณขาว่าผู้ป่วยมีความรู้สึกเช่นไร
6.ประเมินอาการปวดที่เป็นอาการนำสำคัญของการเกิดความดันในช่องกล้ามเนื้อสูงโดยประเมินจาก 5Ps
5 more items...
3.มีความวิตกกังวลเนื่องจากขาดความรู้เกี่ยวกับโรคและการรักษา
วัตถุประสงค์
1.เพื่อลดความวิตกกังวลของผู้ป่วย
2.เพื่อผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะตาม ความสามารถในการปฏิบัติตามแผนของการรักษาพยาบาล
3.เพื่อให้ผู้ป่วยมีความพร้อมในการรับการผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียม
เกณฑ์การประเมิน
1.ผู้ป่วยมีสีหน้าที่คลายวิตกกังวลมากขึ้นยิ้มแย้ม
2.สามารถอธิบายเกี่ยวกับโรคที่เป็นได้
3.สามารถตอบคำถามได้มากกว่า 3 ข้อเกี่ยวกับพฤติกรรมการดูแลตนเอง
1.สร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วยด้วย
ท่าทางที่เป็นมิตร
2.อธิบายวิธีปฏิบัติในระยะก่อนผ่าตัด
แนะนำการเตรียมตัวด้านร่างกาย
3.อธิบายขั้นตอนทำผ่าตัดคร่าวๆ
4.อธิบายวิธีปฏิบัติในระยะหลังผ่าตัดให้ผู้ป่วยและญาติรับทราบ
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึกและซักถามข้อสงสัยที่
เป็นอยู่ให้ผู้ป่วยและญาติมีส่วนร่วมในการวางแผนการดูแลผู้ป่วยต่อเนื่องจากโรงพยาบาล
การพยาบาลวันที่ 2
1.ผู้ป่วยขาดความรู้และความมั่นใจในการดูแลตนเองหลังผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียม
วัตถุประสงค์
1.เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีการปฏิบัติตัวหลัง
ผ่าตัดได้อย่างเหมาะสม
เกณฑ์การประเมิน
1.สามารถอธิบายเกี่ยวกับโรคที่เป็นได้
2.สามารถตอบคำถามได้มากกว่า 3 ข้อ
เกี่ยวกับพฤติกรรมการดูแลตนเองหลังผ่าตัด
1.ส่งเสริมให้ผู้ป่วยไปกายภาพบำบัดเพื่อฝึกเดินโดยใช้เครื่องช่วยพยุงเวลาเดิน
2.ให้ความรู้คำแนะนำสอน สาธิต วิธีการปฏิบัติตัวหลังผ่าตัดแก่ผู้ป่วย
3.กระตุ้นให้ผู้ป่วยได้ออกกำลังกายบริหารกล้ามเนื้อด้วยตนเองขณะพักอยู่ในโรงพยาบาล
2.พร่องกิจวัตรประจำวันเนื่องจากไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้
วัตถุประสงค์
1.เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยสามารถช่วยเหลือตนเองได้
เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยทำกิจวัตรประจำวันได้มากขึ้น
เกณฑ์การประเมินผล
1.ช่วยเหลือตนเองได้มากขึ้นเช่น ลุกนั่ง ลงจากเตียง การเดิน เป็นต้น
สอนผู้ป่วยและแนะนำการช่วยเหลือตนเองที่ถูกต้อง ดังนี้
การลงจากเตียง
เขยิบตัวลงจากเตียงไปยังด้านเดียวกันกับขาข้างที่ผ่านการผ่าตัด ออกแรงยันข้อศอกทั้งสองข้างยกตัวขึ้นมานั่งบนเตียง
ขยับขาข้างที่ผ่าตัดลงมาข้างเตียงตามด้วยขาข้างปกติค่อยๆหมุนลำตัวลงมานั่งข้างเตียง ขณะเคลื่อนย้ายลำตัวตรง
ไม่โน้มลำตัวมาด้านมาไม่หมุนหรือบิดขาด้านที่ผ่าตัด
การลุกขึ้นยืน
หลังจากที่ผู้ป่วยนั่งห้อยขาข้างเตียงแล้ว ให้นำ Walker มาวางอยู่ด้านหน้าผู้ป่วยแล้วให้ผู้ป่วยใช้มือจับ walker ออกแรงกดที่มือทั้งสองข้าง และขาข้างปกติลุกขึ้นยืน ขาข้างผ่าตัดลงน้ำหนักได้ตามแพทย์สั่ง ขณะลุกขึ้นยืนลำตัวตรงไม่โน้มตัวไปด้านหน้าเพื่อป้องกันการเลื่อนหลุดของข้อสะโพก