Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
CARBOHYDRATE METABOLIS, ▪ เนื้อเยื่อที่ต้องการ NADPH มากจะมีวิถีนี้เกิดขึ้…
CARBOHYDRATE METABOLIS
1.การย่อยคาร์โบไฮเดรต
-
คาร์โบไฮเดรตเป็นสารอาหารที่คนจำเป็นต้องบริโภคเป็นประจำทุกวัน
เนื่องจากร่างกายใช้น้ำตาลซึ่งเป็นคาร์โบไฮเดรต
โมเลกุลเล็กที่สุดเปลี่ยนให้พลังงานเป็นอันดับแรก
อาหารที่คนเราบริโภคส่วนใหญ่เป็นคาร์โบไฮเดรต ซึ่งจะอยู่ในรูปของ
พอลิแซ็กคาไรด์ (เช่น สตาร์ช) โอลิโกแซ็กคาไรด์ และไดแซ็กคาไรด์ (เช่น น้ำตาลซูโครส และแล็กโทส) เมื่อคาร์โบไฮเดรต
เข้าสู่ร่างกาย พอลิแซ็กคาไรด์ โอลิโกแซ็กคาไรด์ และไดแซ็กคาไรด์จะถูกย่อยหรือไฮโดรไลซ์ให้เป็นมอโนแซ็กคาไรด์ก่อน
-
-
- Glycolysis (วิถีไกลโคไลซสิ )
เป็นชุดปฏิกิริยาหรือกระบวนการสลายกลูโคส ประกอบด้วย 10 ขันตอน
▪เริ่มจากกลูโคสเป็นสารประกอบที่มีคาร์บอน6อะตอม(C6)>>pyruvate
วัฏจักรเครบส์ / วัฏจักรกรดซิตรกิ / วัฏจักรกรดไทรคาร์บอซิลิก (tricarboxylic acid cycle หรือ TCA cycle) เป็นกระบวนเมแทบอลิซึมของอะเซทิลโคเอ (acetyl CoA metabolism) เป็นวิถีร่วมสุดท้ายของการสลายสารอาหารต่างๆที่ให้พลังงาน
เกิดขึ้นใน Mitochondria
- ประกอบด้วย 8 ขันตอน อาศัยการเร่งของเอนไซม์ทั้งหมด 8 ชนิด
-
- Pentose phosphate pathway
วิถีเพนโทสฟอสเฟต>>สร้างน้ำตาลเพนโทส(Ribose)เพื่อนำไปสร้าง นิวคลิโอไทด์(Nucleotide)และกรดนิวคลิอิก (Nucleicacid)ในเซลล์
▪เป็นวิถีออกซิไดซ์กลูโคส
▪แตกต่างกับGlycolysisคือเป็นวิถีสร้างNADPH
**NADPH>>เป็นโคเอนไซม์สำคัญในการสร้างกรดไขมันสเตอรอยด์ และกรดอะมิโม
- สรุป Pentose phosphate pathway
เอนไซม์ Transketolase ต้องการ TPP (Coenzyme มาจาก thiamine) >> ผู้ที่ขาดวิตามนิ B1 จะท้าให้การทำงานของเอนไซม์ Transketolase ลดลง >> ตรวจวัดจากเมด็เลือดแดง
- ความสำคัญของPentosephosphatepathwayในเม็ดเลือดแดง
▪วิถีกชูโคนีโอเจนีซิส>>สำคัญในการผลิตกลูโคสให้เนื้อเยื่อต่างๆ
▪เป็นกระบวนการสร้างกลูโคสขึ้นมาใหม่จากสารประกอบที่ไม่ใชาคาร์โบไฮเดรต
ได้แก่แลกเทต กลีเซอรอลและกรดอะมิโนบางชนิด
▪ เกิดขึนในภาวะที่ร่างกายต้องการกลูโคสและได้รับคาร์โบไฮเดรตไม่เพียงพอ เนื่องจาก เนื้อเยื่อต่างๆ เช่น สมอง ระบบประสาท ไต และเซลล์เม็ดเลือดแดง ต้องการกลูโคส เป็นแหล่งพลังงานสำคัญ
<<การสังเคราะห์กลูโคสจากแลกเทต >>
- เกิดขึนในกล้ามเนือและเม็ดเลือดแดง >> นำไปใช้ที่ตับและหัวใจ
- เรียกว่าCori cycle หรือ Lactic acid cycle
<<การสังเคราะห์กลูโคสจากกลีเซอรอล>>
▪ในภาวะที่ร่างกายขาดพลังงานจะมีการสลายTriacylglycerol(Adiposetissue) >> Glycerol + Fatty acid
▪ไกลโคเจนเป็นคาร์โบไฮเดรตสะสมที่สำคัญของสัตว์
▪ส่วนใหญ่สะสมในตับและกล้ามเนื้อ
▪ในตับของคนที่ได้รับอาหารเพียงพอจะมีไกลโคเจนสะสมได้มากถึงร้อยละ6-10 ของน้ำาหนักตับ
▪ในกล้ามเนื้อมีไกลโคเจนประมาณร้อยละ1ของน้ำหนักกล้ามเนื้อ
▪โรคทางพันธุกรรมที่เกี่ยวกับการสะสมไกลโคเจน
Glycogenstoragedisease(โรคที่มีการสะสมไกลโคเจนผิดปกติ)
น้ำตาลในเลือด คือ ความเข้มข้นของระดับน้ำตาลกลูโคสในเลือด กลูโคสถือเป็นแหล่งพลังงานหลักของเซลส์ในร่างกายและเป็นน้ำตาลที่มีอยู่ในเลือดของมนุษย์และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทั่วไป ตามปกติร่างกายของเราจะควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้สมดุลอยู่เสมอ
▪ การตรวจระดับน้ำตาลทางการแพทย์จะแบ่งเป็น 2 ประเภทหลักคือ
- การตรวจระดับน้ำตาลในเลือดหลังงดอาหาร 8 ชั่วโมง หรือที่เรียกว่า Fasting Blood Sugar (FBS) เป็นการตรวจระดับน้ำตาลในเลือดในระยะ 2-3 วันที่ผ่านมา โดยส่วนใหญ่จะตรวจในช่วงเช้าเพราะระดับน้ำตาลในเลือดจะอยู่ในจุดที่ต่ำที่สุดหลังงดอาหารมาหนึ่งคืน ค่าเฉลี่ยนี้จะผันผวนได้ตลอดทั้งวัน ขึ้นอยู่กับภาวะต่างๆ เช่น ความเครียด หรือการกินอาหารบางประเภท
- การตรวจระดับน้ำตาลสะสมในเลือดระยะเวลา 3 เดือน หรือ Glycohemoglobin HbA1c คือการตรวจค่าระดับน้ำตาลกลูโคสที่จับอยู่กับฮีโมโกลบิน หรือโปรตีนที่อยู่ในเซลล์เม็ดเลือดแดงนั่นเอง ตามปกติเซลล์เม็ดเลือดแดงจะมีอายุประมาณ 1 - 3 เดือน ดังนั้นการตรวจประเภทนี้จะแสดงผลเฉลี่ยระดับน้ำตาลในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา ซึ่งสามารถวินิจฉัยโรคเบาหวานได้แม่นยำกว่า ไม่ต้องอดอาหาร สามารถเจาะเวลาไหนก็ได้ แต่มีราคาสูงกว่าเนื่องจากเป็นการตรวจที่ต้องได้มาตรฐานทางการแพทย์
5.โรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน คือ โรคที่เซลล์ร่างกายมีความผิดปกติในขบวนการเปลี่ยนน้ำตาลในเลือดให้เป็นพลังงาน โดยขบวนการนี้เกี่ยวข้องกับอินซูลินซึ่งเป็นฮอร์โมนที่สร้างจากตับอ่อนเพื่อใช้ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด เมื่อน้ำตาลไม่ได้ถูกใช้จึงทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้นกว่าระดับปกติ โรคเบาหวานแบ่งเป็น 4 ชนิด ตามสาเหตุของการเกิดโรค
- โรคเบาหวานชนิดที่ 1 (type 1 diabetes mellitus, T1DM) เกิดจากเซลล์ตับอ่อนถูกทำลายจากภูมิคุ้มกันของร่างกาย ทำให้ขาดอินซูลิน มักพบในเด็ก
- โรคเบาหวานชนิดที่ 2 (type 2 diabetes mellitus, T1DM) เป็นชนิดที่พบบ่อยที่สุด ร้อยละ 95 ของผู้ป่วยเบาหวานทั้งหมด เกิดจากภาวะดื้อต่ออินซูลิน มักพบในผู้ใหญ่ที่มีน้ำหนักเกินหรืออ้วนร่วมด้วย
- โรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ (gestational diabetes mellitus, GDM) เป็นโรคเบาหวานที่เกิดขึ้นขณะตั้งครรภ์ มักเกิดเมื่อไตรมาส 2-3 ของการตั้งครรภ์
- โรคเบาหวานที่มีสาเหตุจำเพาะ (specific types of diabetes due to other causes) มีได้หลายสาเหตุ เช่น โรคทางพันธุกรรม โรคของตับอ่อน โรคทางต่อมไร้ท่อ ยาบางชนิด เป็นต้น
▪ เนื้อเยื่อที่ต้องการ NADPH มากจะมีวิถีนี้เกิดขึ้นมาก เช่น
- ตับ (liver)
- เนือเยื่อไขมัน (adipose tissue)
-ต่อมน้ำนมระยะที่มีการสร้างน้ำนม(lactatingmammarygland)
-ต่อมหมวกไตชั้นคอร์เทกซ์ (adrenal cortex)
▪เซลลเ์ม็ดเลือดแดงตัวแก่(matureredbloodcell)>>อาศัยการสลายกลูโคสสว่น หนึ่งผ่าน Pentose phosphate pathway
เพื่อสร้าง NADPH ส้าหรับใช้ในการ เปลี่ยนGlutathioneที่เยื่อหุ้มเซลล์ให้มีความแกร่ง(integrity)
▪ผู้ที่มีความบกพร่องของเอนไซม์G6PD>>ความแกร่งของเม็ดเลือดแดงจะเสียไป
-เม็ดเลือดแดงเปราะและแตกง่าย(Hemolysis)
-
-สมองต้องการกลูโคส มากกว่า120 กรัมต่อวัน
▪สะสมมากที่ตับและไต>>ไม่สามารถถกู้นำมาใช้ได้
▪ระดับน้าตาลในเลือดต่กกว่าปกติ
▪ มีตับโตมาก
▪ สาเหตุ >> ขาดเอนไซม์ glucose-6-phosphate ในตับ
- ผลตรวจ: ถ้ามีน้ำตาลกลูโคสต่ำกว่า 100 มิลลิกรัม/เดซิลิตร ถือว่าอยู่ในระดับปกติ ถ้ามีน้ำตาลกลูโคสตั้งแต่ 100 – 125 มิลลิกรัม/เดซิลิตร จัดเป็นกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ควรปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการกินอาหารทันที ถ้ามีน้ำตาลกลูโคสสูงตั้งแต่ 126 มิลลิกรัม/เดซิลิตร ถือว่าเป็นโรคเบาหวานแล้ว ควรเข้าพบแพทย์เพื่อรับการรักษา
- ผลตรวจ: ในเกณฑ์ปกติ ค่าน้ำตาลเฉลี่ยสะสมในเลือดจะอยู่ระหว่าง 4 – 6 เปอร์เซ็นต์ ส่วนผู้ป่วยโรคเบาหวานจะอยู่ที่ 6.5 เปอร์เซ็นต์ขึ้นไป
-