Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 ชีวิตกับความดี (คุณค่า)ตามแนวคิดปรัชญาตะวันตก - Coggle Diagram
บทที่ 3
ชีวิตกับความดี (คุณค่า)ตามแนวคิดปรัชญาตะวันตก
ประโยชน์นิยม [UTILITARIANISM]
ผลของการกระทำคือเกณฑ์ตัดสินว่าดี/ถูกต้อง/ชอบธรรม/ยุติธรรม/สิ่งที่ควรทำ
J.S.MILL กล่าวว่า ผลของการกระทำที่ดี คือ ก่อนให้ประโยชน์มากมายสุขจำนวนมากที่สุดแก่คนจำนวนมากที่สุด
ตัวอย่างกรณีจารีตประเพณี
จอห์น สจ๊วต มิลล์
(John Stuart Mill : 1806 – 1873)
เคยเสนอให้คุมกำเนิด เพราะเกาะอังกฤษเล็กนิดเดียว อีกหน่อยคนจะล้นเกาะถ้าไม่คุมกำเนิด
เบอร์ทรันด์รัสเซ็ลล์
(Bertrand Russell : 1872 – 1969)
เขียนหนังสือ การสมรสและศีลธรรม เสนอให้ผู้ที่จะแต่งงาน ทดลองอยู่กินกันก่อน แต่อย่าให้มีลูก ถ้าเห็นว่าไปกันได้ก็ให้แต่ง
สำหรับแนวคิดกลุ่มนี้ : ประเพณีไม่ใช่ตัวสุดท้ายที่จะตัดสินว่าควรทำอะไรแต่ขึ้นอยู่กับว่าประเพณีนั้นมันจะก่อประโยชน์สุขหรือไม่ต่างหาก
ศาสนา
มีหลักคำสอนเพื่อประโยชน์สุขต่อมนุษยชาติ ให้เมตตาเกื้อกูลกันแต่ถ้าศาสนาถูกเหยียดหยามความสุขทางกายจะสอนให้คนเห็นแก่ตัว
กฎหมาย
มีไว้เพื่อเป็นประโยชน์ต่อมหาชน แต่ถ้าเราต้องการช่วยเหลือชีวิตคน บางครั้งก็ต้องยอมละเมิดกฎหมาย
สรุป :สำหรับมหสุขแล้วไม่มีอะไรที่แน่นอนตายตัว กฏเกณฑ์ทุกอย่างมีไว้เพื่อเป็นประโยชน์สำหรับมหาชน
คุณค่า(Value):question:
คือ สิ่งที่พึงประสงค์สิ่งที่พึงปรารถนาสิ่งที่ต้องการสิ่งที่พึงพอใจ
มี 2 ประเภท
คุณค่าภายใน (Intrinsic value)
2.คุณค่าภายนอก (Extrinsic value)
คุณค่าทางจริยธรรม (Moral value)
คือ ความดี/ความถูกต้อง/ความชอบธรรม/ความยุติธรรม/สิ่งที่ควรทำ
Moral Judgment คือ เกณฑ์การตัดสินทางจริยธรรมหรือสิ่งที่เราควรปฏิบัติต่อผู้อื่นว่า ดี/ถูกต้อง/ชอบธรรม/ยุติธรรม/สิ่งที่ควรทำ
หน้าที่นิยม (Duty Ethics)
เกณฑ์ตัดสินทางจริยธรรมหรือเกณฑ์ตัดสินว่าดี/ถูกต้อง/
ชอบธรรม/ยุติธรรม/สิ่งที่ควรทำขึ้นอยู่กับเจตนาดี (Good will)
Kantianism
เจตนาดี คือ การทำตามเหตุผล การทำตามเหตุผล คือ การทำตามหน้าที่ การทำตามหน้าที่ คือ การทำตามหลักการ การทำตามหลักการ คือ การทำตามกฎเกณฑ์
เจตนาดี = มีเหตุผล = มีหลักการ
ไม่มีความรู้สึกเข้ามาเกี่ยวข้อง
เงื่อนไขการกระทำที่ดี
1.จงทำตามหลัก(การ)
ที่เราจงใจให้เป็นกฎสากล
2.อย่าใช้ (มนุษย์) ผู้อื่นเป็นเครื่องมือเพื่อ (ทำให้ตนเองบรรลุผล)การใดๆ
เจตนาหรือหลักการ เป็นตัวตัดสินการกระทำ ดี ชั่ว ถูก ผิด เป็นค่าทางศีลธรรมที่มีความตายตัว
เจตนาดีคือการกระทำตามหน้าที่
มนุษย์มีแรงผลักดันในการกระทำ 2 อย่าง
1.อารมณ์ ความรู้สึก ความปรารถนา ที่มาจากการผัสสะ หรือสภาพแวดล้อมภายนอก
2.เหตุผลบริสุทธิ์อันมาจากกฎทาง
ศีลธรรม
คำสั่ง มี 2 แบบ
คำสั่งที่มีเงื่อนไข (Hypothetical Imperative)
คำสั่งเด็ดขาด (Categorical Imperative)
Buddhism
เกณฑ์การตัดสินทางจริยธรรมขึ้นอยู่ที่เจตนา
เจตนา
ตั้งใจ/จงใจ/เจาะจง
ดี(กุศล)
เจตนาดี
1.ไม่มีความโลภ
2.ไม่มีความโกรธ
3.ไม่มีความหลง
ไม่ดี (อกุศล)
เจตนาไม่ดี
1.มีความโลภ
2.มีความโกรธ
3.มีความหลง
องค์ประกอบร่วมพิจารณาเจตนาดี
1.วิญญูชนสรรเสริญ
2.ไม่เบียดเบียนตนเอง/ผู้อื่น
3.มีประโยชน์