Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชที่มีปัญหาการใช้สารเสพติดและทารุ…
การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชที่มีปัญหาการใช้สารเสพติดและทารุณกรรม
โรคจิตจากสารเสพติด
Substance related disorder
substance intoxication
substance with drawal
substance induced
disorder (กาย+จิตเวช)
โรคจิตที่เกิดจากการใช้สารเสพติด
สารเสพติดส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของชีวเคมีในสมอง ก่อให้เกิด
ความผิดปกติด้านความคิด การรับรู้และพฤติกรรม
Substance use disorder
dependence
การที่บุคคลต้องการใช้หรือต้องพึ่งพาสารเสพติดบางอย่าง
เพื่อให้ตนเองดำเนินชีวิตต่อไปได้
Substance dependence
การพึ่งพาทางด้านร่างกาย (physical dependence)
ถ้าหยุดใช้หรือปริมาณสารเสพติดในร่างกายลดลง ทำให้เกิดความไม่สุขสบาย
การพึ่งพาทางด้านจิตใจ (psychological dependence)
ลักษณะของความอยากหรือความเคยชิน
เกณฑ์การวินิจฉัย
การดื้อยา (tolerance)
ผลของสารจะลดลงไปอย่างมาก เมื่อมีการใช้อย่างต่อเนื่อง ในจ านวนที่เท่าเดิม
มีความต้องการที่จะใช้สารนั้น เพื่อให้ได้ซึ่งผลหรืออาการที่ต้องการ
อาการขาดยา (withdrawal)
เกิดลักษณะของกลุ่มอาการขาดยา
24-48 ชั่วโมง อาการตัวสั่น มือสั่น ร่วมกับ มีอารมณ์
หงุดหงิด
7-48 ชั่วโมง ชัก แล้วจะมีอาการ delirium ต่อไป
ภายใน 48 ชั่วโมง ประสาทหลอน ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็น
เสียงแว่ว
มีการใช้สารนั้นเพื่อหลีกเลี่ยงหรือบรรเทาอาการขาดยา
มักจะใช้สารนั้นในจ านวนที่เพิ่มมากขึ้น
ต้องการใช้สารนั้นอยู่ตลอดอย่างต่อเนื่อง
เวลาในแต่ละวันหมดไปกับกิจกรรมต่างๆ เพื่อที่จะให้ได้สารเพื่อการเสพสาร
*อย่างน้อยจะต้องมี3 ข้อในเวลาใดเวลาหนึ่งในช่วงระยะเวลา 12 เดือน
ที่ผ่านมา
การใช้สารนั้นทำให้กิจกรรมสำคัญๆในด้านสังคมลดลง
substance abuse
เกณฑ์การวินิจฉัย
มีการใช้สารอยู่เรื่อยๆ ในสถานการณ์ที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพได้
มีการใช้สารอย่างต่อเนื่อง แม้ว่าสารนั้นจะก่อให้เกิดปัญหาต่างๆ
มีการใช้สารนั้นอยู่เรื่อย ๆ ซึ่งทำให้ไม่สามารถทำงานต่างๆ
อย่างน้อยจะต้องมี1 ข้อ เกิดขึ้นในช่วงระยะเวลา 12 เดือน
กลไกการเกิดโรค
Biological
สารเสพติด
สารเสพติดทำลายสมอง และทำให้เกิดภาวะสมองติดยา
Genetic Factor
การติดสุราเป็นผลมาจากพันธุกรรม
Gene ที่มีผลต่อการติดสารจะเกี่ยวข้องกับ Dopamine
Psychological
สารเสพติดกระตุ้นสมองส่วนอยาก
สารเสพติดกระตุ้นให้สารโดปามีนหลั่งมีความสุข
การใช้สารเป็น self medication เพื่อความลดกังวล
ใช้ alcohol ลดอาการ panic
ใช้ opioid ลด anger
ใช้ amphetamine ลด depression
ความสุข ความทุกข์เป็นตัวกระตุ้น
Social
Peer group; สอนผู้ใช้หน้าใหม่
การรวมกลุ่มเพื่อใช้สาร
Family addiction
ภาวะขาดสุรา (Alcohol withdrawal)
ความหมาย
จะมีอาการ
เกิดขึ้นหลังจากหยุดดื่มสุรา หรือลดปริมาณการดื่มลง
เป็นสภาวะที่มีการ
เปลี่ยนแปลงสรีรวิทยาหรือสภาวะทาง จิตใจ
อาการ
ภายใน 6-8 ชั่วโมง หลังการดื่มครั้งสุดท้าย
ผู้ป่วยมักมีอาการสั่น หงุดหงิด กระสับกระส่าย
โดยเฉพาะ
ระบบประสาท Sympathetic nervous system
ภายใน 8-12 ชั่วโมง หลังการดื่มครั้งสุดท้าย
มีอาการทางจิต หลงผิด ประสาทหลอน
ภายใน 12-24 ชั่วโมง หลังการดื่มครั้งสุดท้าย
มักเกิดอาการชักชนิด Grand mal seizures
ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดชัก
ภายใน 72-96 ชั่วโมง หลังการดื่มครั้งสุดท้าย
ภาวะสมองสับสน หรือ Delirium tremens (DTs)
อาการอาจอยู่ได้นาน 2-3 วัน
ระบบประสาทอัตโนมัติตื่นตัวมากผิดปกต
อาการทางจิต ผู้ป่วยอาจมีอาการหูแว่ว
แนวทางการบำบัดรักษา
Symptomatic Relief: การบรรเทาอาการทางกาย
Supplement: การเสริมวิตามินและเกลือแร่ >> *Thiamine
Sedation: การให้ยาระงับประสาท
Supportive Environment: การจัดสิ่งแวดล้อม
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
ด้านร่างกาย
มีความบกพร่องด้านการดูแลตนเอง เนื่องจากความเสื่อมถอยด้านสติปัญญา การรับรู้
มีความเสี่ยงที่จะมีพฤติกรรมรุนแรงต่อตนเองและผู้อื่น เนื่องจาก
ความคิดหลงผิดและประสาทหลอน
ด้านจิตใจ
มีการเปลี่ยนแปลงด้านกระบวนการคิด เนื่องจากความแปรปรวนด้าน
การรับรู้
เป้าหมายการให้การพยาบาล
เป้าหมายระยะสั้น
เลิกสารเสพติดโดยไม่มีอาการแทรกซ้อน
พัฒนาทักษะการเผชิญปัญหาโดยไม่ต้องใช้สารเสพติด
ผู้ป่วยได้รับความปลอดภัย
เป้าหมายระยะยาว
สร้างรูปแบบการดำเนินชีวิตใหม่ โดยไม่อาศัยสารเสพติด
ทำงานได้ มีครอบครัวและผู้อื่นช่วยเหลือ
หยุดสารเสพติดหลังการรักษาเสร็จสิ้น
มีสัมพันธภาพที่ดีกับบุคคลอื่น
Stage of Change
Preparation
คนไข้เริ่มวางแผนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เริ่มตั้งเป้าหมาย
Action
n คนไข้เริ่มปฏิบัติตามแผนที่วางไว้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
Contemplation
คนไข้รับรู้ถึงปัญหาที่เกิด และคิดว่าน่าจะปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
Maintenance
คนไข้สามารถปฏิบัติตามแผนที่วางไว้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้อย่างน้อย 6 เดือน
Pre-contemplation
คนไข้ยังไม่พร้อมสำหรับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
Relapse
เป็นขั้นตอนที่อาจเกิดหรือไม่ก็ได้ คือ คนไข้กลับไปกระทำพฤติกรรมเดิม
ทารุณกรรมและการละเลยการทอดทิ้ง
เป็นการทำให้พวกเขาตกอยู่ในสถานการณ์ที่ไม่ปลอดภัย สถานการทางเพศ ทั้งยังทำให้พวกเขารู้สึกไร้ค่าอีกด้วย
สาเหตุการทารุณกรรมเด็ก
เด็กมีพื้นฐานเลี้ยงยาก
ความยากจน
ปัจจัยในครอบครัว
สารเสพติด
สติปัญญาต่ำ
การละเลยอาจรวมถึงการถูกทอดทิ้ง อันได้แก่ การไม่หาอาหาร
การละเลยทางอารมณ์ เช่น การไม่ให้ความรัก หรือความสะดวกสบาย หรือการละเลยทางการแพทย์
ลักษณะบาดแผลที่บอกชี้ถึงทารุณกรรม
ด็กน้ำหนักน้อย (Failure to gain weight) โดยเฉพาะในเด็กทารก
ปวดอวัยวะเพศหรือมีเลือดออก
การบาดเจ็บต่างๆ เช่น รอยช้ำ รอยไหม้ การแตกหักในส่วนต่างๆ
การเปลี่ยนแปลงอื่นๆ ที่น่ากังวล
พฤติกรรมรุนแรงมากหรือก้าวร้าว
พยายามถอนตัวหรือหนีห่างจากสังคม
พฤติกรรมที่น่ากลัว เช่น ฝันร้าย ซึมเศร้า หรือมีความกลัวผิดปกติ
วิธีป้องกันและรับมือกับ
แนวทางการศึกษาและทักษะชีวิต
บรรทัดฐาน ค่านิยม และวิธีการ
ควรเปลี่ยนบรรทัดฐานทางสังคมและเรื่องเกี่ยวกับเพศให้เข้มงวดขึ้น
การสนับสนุนผู้ปกครองและผู้ดูแล
การให้ข้อมูลและการสร้างทักษะ
Termination หยุดได้อย่างถาวร ไม่มีความต้องการสารเสพติด
นางสาวนฤมล พรมวิบุตร เลขที่42