Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวิเคราะห์ข้อมูล (Data analysis), นางสาว คนิศรา มานะเพียร …
การวิเคราะห์ข้อมูล (Data analysis)
การทดสอบสถิติพาราเมตริกซ์ (Parametric Statistical tests)
ทิศทางของการทดสอบสมมติฐาน
One-tailed test of significance วิเคราะห์สมมติฐานที่มีทิศทาง
One-tailed statistical tests more powerful than two-tailed tests เพราะลดโอกาสเกิด Type II error
Two-tailed test of significance การวิเคราะห์สมมติฐานที่ไม่มีทิศทาง
สถิติเชิงอ้างอิง (Inferential Statistics) ที่ศึกษาบรรยายคุณลักษณะตัวแปรของประชากร จากข้อมูลของกลุ่มตัวอย่าง
ค่าสถิติเป็นค่าที่วิเคราะห์จากข้อมูลของตัวแปรที่มีค่าต่อเนื่อง
ใช้กับข้อมูลที่อย่างน้อยมีการวัดอยู่ในช่วงมาตรา (Interval scale) และระดับอัตราส่วนมาตรา (Ratio scale)
เป็นข้อมูลที่รวบรวมจากกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นตัวแทนที่ดีของประชากรเป้าหมาย
มีข้อตกลงเบื้องต้นว่า ข้อมูลนั้นมาจากประชากรที่มีการกระจายแบบปกติ (normally distributed in the population)
ปัจจัยที่มีผลต่ออานาจการทดสอบของสถิติพาราเมตริกซ์ (Power of test)
ขนาดกลุ่มตัวอย่าง
วิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง
เป็นไปตามข้อตกลงเบื้องต้น (Assumptions)
หากข้อมูลไม่เป็นไปตามข้อตกลงเบื้องต้น ควรใช้สถิตินันพาราเมตริกซ์
ข้อตกลงเบื้องต้นของการใช้สถิติพาราเมตริกซ์ มีดังนี้
1.กลุ่มตัวอย่างได้จากการสุ่มโดยอาศัยหลักของความน่าจะเป็น (Probability sampling)
2.กลุ่มตัวอย่างมีขนาดใหญ่
3.ระดับการวัดตัวแปรในช่วงมาตรา และระดับอัตราส่วนมาตรา
4.กลุ่มตัวอย่างสุ่มจากประชากรที่มีการแจกแจงเป็นโค้งปกติ (Normality) เช่นพิจารณาจาก Graphic (scatter plot, box plot, histogram) หรือพิจารณาจากค่าสถิติทดสอบการแจกแจงข้อมูล ได้แก่ Kolmogorov-Sminov test (K-S test) ใช้กรณี n > 50 หรือShapiro-Wilk test
ลักษณะการกระจายของข้อมูล
แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง Central Tendency
Normal distribution
Positive Skew
Negative Skew
สถิติแบบนอนพาราเมตริกซ์ (Nonparametric tests)
ใช้กับข้อมูลที่มีระดับการวัดแบบ nominal or ordinal scale
การกระจายของข้อมูลที่วัดไม่จาเป็นต้องกระจายเป็นโค้งปกติ
(Data distribution free or data distribution is markedly skewed)
ค่าความแปรปรวนของกลุ่มประชากรไม่จาเป็นต้องเท่ากัน หรือเราไม่ทราบว่าเท่ากันหรือไม่
Two-group test: independent
Median test เปรียบเทียบค่า median ของสองกลุ่มที่เป็นอิสระต่อกัน (ordinal กับ ordinal) หาค่า median ลัจัดกลุ่มข้อมูลเป็นกลุ่มที่ มาก/น้อย กว่าค่า median ของข้อมูลแต่ละชุด ทาเป็นตาราง 2 X 2 contingency table (nominal กับ nominal) วิเคราะห์ด้วย Chi-square test
Mann-Whitney U test
เปรียบเทียบความแตกต่างของข้อมูล 2 กลุ่มที่เป็นอิสระ ที่วัดมาในระดับ ordinal scale (กาหนดอันดับให้กับกลุ่มข้อมูล และ sum of the ranks) คานวณด้วย U test
การศึกษาที่มีขนาดกลุ่มตัวอย่างเล็ก
การกระจายของข้อมูลไม่ปกติ
กลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มเป็นอิสระต่อกัน
ข้อมูลอยู่ในระดับการวัดตั้งแต่ Ordinal scale ขึ้นไป
Nonparametric tests
Pair: ordinal-level data
Sign test กาหนดเครื่องหมาย +/-ให้กับข้อมูลแต่ละคู่ ขึ้นกับว่า x มากกว่า หรือน้อยกว่า y
Wilcoxon signed-rank test จะวิเคราะห์ค่าความแตกต่างระหว่างข้อมูลแต่ละคู่ แล้วมาเรียงอันดับค่าความต่าง (absolute difference)
เปรียบเทียบด้วย t-test แต่ less powerful
ประโยชน์ของสถิตินอนพาราเมตริกซ์
ใช้ในกรณีขนาดกลุ่มตัวอย่างมีขนาดเล็กมากได้
ใช้กรณีข้อมูลที่ได้ไม่ผ่านข้อตกลงเบื้องต้นของสถิติพาราเมตริกซ์
ใช้กรณีข้อมูลที่ไม่สามารถวัดในระดับอันตรภาคชั้นขึ้นไป
สามารถเรียนรู้และเข้าใจการแปลผล ตีความได้ง่าย ไม่ซับซ้อน
ทดสอบสมมติฐานที่ไม่คำนึงถึงการแจกแจงของข้อมูลในกลุ่มประชากร
สมมติฐานทางสถิติ
สมมติฐานศูนย์ ( null hypothesis,H0 )
สมมติฐานทางเลือก ( alternative hypothesis,H1 )
การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติเพื่อทดสอบความสัมพันธ์
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของ 2 ตัวแปรต่อเนื่อง ในกรณีที่ตัวแปรไม่ได้มีการแจกแจงปกติ
ไม่สามารถใช้สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson correlation) หาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ได้
เปลี่ยนค่าข้อมูลเป็นค่าลาดับแล้วนาค่าลาดับที่ มาหาความสัมพันธ์แทน
Friedman test (dependent samples)
ข้อมูล Ordinal scale ตั้งแต่ 2 กลุ่มขึ้นไป
ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่ไม่เป็นอิสระต่อกัน
สถิติที่นำมาใช้ในงานวิจัย
สถิติพรรณา (Descriptive statistics)
สถิติอ้างอิง (Inferential statistics)
ข้อมูล
ระดับของการวัด (Level of Measurement)
เรียงอันดับ (Ordinal Measurement)
อันตรภาคชั้น (Interval Measurement)
อัตราส่วนมาตรา (Ratio Measurement)
นามบัญญัติ (Nominal Measurement)
1.ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative data)
2.ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative data)
ข้อมูลต่อเนื่อง (Continuous data)
ข้อมูลไม่ต่อเนื่อง (Discrete data)
แหล่งที่มาของข้อมูล
ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary data) คือ ข้อมูลที่ได้จากผู้วิจัยเก็บรวบรวม ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลโดยตรง เช่น จากแบบสอบถาม (การสัมภาษณ์/ ให้ตอบเอง) ตรวจร่างกาย หรือสังเกตพฤติกรรมจากกลุ่มที่ศึกษา เป็นต้น
ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary data) คือ ข้อมูลที่ผู้ต้องการใช้ข้อมูลไม่ได้เก็บรวบรวมข้อมูล แต่ได้ข้อมูลจากแหล่งที่มีผู้อื่น (หน่วยงานอื่น) เก็บรวบรวมไว้แล้ว เช่น สานักงานสถิติแห่งชาติ กองสุขศึกษา กองโภชนาการ วารสารทางวิชาการทั้งในและต่างประเทศ เป็นต้น
สมมติฐานการวิจัย
สมมติฐานแบบไม่มีทิศทาง
สมมติฐานแบบมีทิศทาง
ขั้นตอนการทดสอบสมมติฐาน
กำหนดสมมติฐานว่างและสมมติฐานทางเลือก
กำหนดระดับนัยสำคัญที่ต้องการทดสอบ
การเลือกสถิติทดสอบ
หาค่าตัวทดสอบสถิติโดยใช้ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง
การตัดสินใจยอมรับหรือปฏิเสธสมมติฐานที่ตั้งไว้ที่ระดับนัยสำคัญที่กำหนด
การยอมรับ H0 ถ้าค่าสถิติที่คำนวนณได้ตกอยู่ในเขตยอมรับ
ปฏิเสธ H0 ถ้าค่าสถิติที่คำนวนณได้ตกอยู่ในเขตวิกฤติ ซึ่งหมายถึงการยอมรับ H1
นางสาว คนิศรา มานะเพียร 62110098
ชั้นปีที่ 3 คณะพยาบาลศาสตร์