Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เครื่องมือในการบำบัดทางการพยาบาลจิตเวช, กีรพัชร แพงแซง 36/1 เลขที่ 13…
เครื่องมือในการบำบัดทางการพยาบาลจิตเวช
1.สนทนาเพื่อการบำบัด
ขั้นตอนการสื่อสารเพื่อการบำบัด
1ขั้นเตรียมการสร้างสัมพันธภาพ (Initiating
phase)
2.ขั้นดำเนินการแก้ปัญหา (Working phase)
3.ขั้นสิ้นสุดการสร้างสัมพันธภาพ (Terminating
phase)
เทคนิคการสื่อสารแต่ละเทคนิค
1.การฟัง (Listening)
ฟังอย่างตั้งใจ ใส่ใจทั้งคำพูด สีหน้า ท่าทาง การแสดงออก
2.การใช้ความเงียบ (Using Silence)
การใช้ความเงียบในจังหวะที่เหมาะสม (การเงียบทางบวก)จะช่วยให้
ผู้รับบริการรู้สึกผ่อนคลาย ไม่รู้สึกว่าถูกเร่งรัด
3.การยอมรับ (Accepting)
การยอมรับผู้รับบริการและสิ่งที่ผู้รับบริการพูด อาจแสดงออกด้วยท่าทาง น้ำเสียงหรือ คำพูด เช่น การพยักหน้า การฟังโดยไม่โต้แย้ง
4.การเสนอตัวเพื่อให้การช่วยเหลือ(OfferingSelf)
เป็นการเสนอตนเองเพื่อรับฟังปัญหา ให้การช่วยเหลือหรืออยู่เป็นเพื่อน
การจำได้หรือการระลึกถึง(GivingRecognition)
เป็นการแสดงถึงการให้ความสำคัญกับผู้รับบริการในฐานะ
ที่เขาเป็นบุคคลคนหน
6.การใช้คำกล่าวกว้าง ๆ (Giving Broad
Openings)
เปิดโอกาสการพูดถึงในสิ่งที่คิดหรือไม่สบายใจ
7.การพูดนำเพื่อกระตุ้นให้ผู้รับบริการพูดต่อ
(Giving General Leads or Using General Leads)
การรใช้คำพูด หรือแสดงออกว่า เรากำลังฟัง
การบอกถึงสิ่งที่สังเกตเห็น (MakingObservation
orSharing Observation)ก
การบอกในสิ่งที่พยาบาลสังเกตเห็นเกี่ยวกับตัวผู้รับบริการให้ผู้รับบริการทราบ
9.การถามถึงสิ่งที่ผู้รับบริการรับรู้มา(Encouraging
Description of Perception)
เพื่อให้ผู้รับบริการได้บรรยาย/เล่าสิ่งที่เกิดขึ้นกับตัวเขาตามที่เขารับรู้มาด้วยตนเอง
10.การทวนซ้ำ/การสะท้อนเนื้อหา (Restating)
เป็นการพูดทวนเนื้อหาหรือใจความสำคัญในสิ่งที่ผู้รับบริการพูด
11.การขอความกระจ่าง (Clarifying or Seeking
Clarification)
เป็นการขอคeอธิบายเพิ่มเติม ในกรณีที่ผู้รับ
บริการพูดคลุมเครือ/มีความหมายไม่ชัดเจน
3.การรักษาด้วยยาทางจิตเวช
การรักษาด้วยยาที่ออกฤทธิ์ต่อสมองและระบบประสาท
จำแนกเป็นกลุ่มสำคัญได้ 5 กลุ่ม
1.ยาต้านอาการโรคจิต (Antipsychotic drugs
1.1 ยารักษาโรคจิตชนิดดั้งเดิม (Classical antipsychotic drugs or Conventional antipsychotics)
ยาตัวนี้จะออกฤทธิ์ยับยั้งการทำงานของโดปามีน
รีเซ็บเตอร์(Dopamine Receptors, D2) ในสมอง
ยารักษาโรคจิตที่มีความแรงของยาในระดับต่ำ เช่น ChlorpromazineThioridazine
ยารักษาโรคจิตที่มีความแรงของยาในระดับปานกลาง เช่น PerphenazineLoxapine
ยารักษาโรคจิตที่มีความแรงของยาในระดับสูง เช่น Haloperidol Fluphenazine
1.2ยารักษาโรคจิตกลุ่มใหม่ (Atypical antipsychotic)
ยากลุ่มนี้ใช้ได้กับผู้ป่วยโรคจิตเภทที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยาในกลุ่มดั้งเดิม
ผลข้างเคียงน้อยกว่ายารักษาโรคจิตกลุ่มดั้งเดิม ตัวอย่างของยาในกลุ่มนี้ เช่น Clozapine Resperidol Olanzapine และQuetiapine
ยารักษาอาการซึมเศร้า (Antidepressant drugs)
3.ยารักษาวิตกกังวล (Antianxiety drugs or Anxiolytic drugs or Minor Tranquilizers
รักษาอาการวิตกกังวล เครียด หวาดกลัว ซึ่งเป็นอาการพื้นฐานของโรคประสาทและโรคจิตสรีระแปรปรวน ยาจะช่วยลดความวิตกกังวล
ยาควบคุมอารมณ์ (Mood Stabilizing drugs)
ยาที่ใช้ในปัจจุบันได้แก่ Lithium carbonate ใช้รักษาผู้ป่วยโรคอารมณ์แปรปรวน (Mood disorders) โดยเฉพาะระยะ mania และรักษาอาการ Chronic aggressive
ยาลดอาการข้างเคียงของยารักษาโรคจิต (Anticholinergic drugs) หรือยาต้านพาร์คินสัน (Antiparkinson)
ใช้เพื่อป้องกันและลดอาการข้างเคียงโดยเฉพาะอาการ EPS ที่เกิดจากยารักษาโรคจิต โดยยากลุ่มนี้จะไปลดปริมาณของ acetylcholine transmission และเพิ่มปริมาณ dopamine transmission เพื่อให้เกิดสมดุล ส่วน Anticholinergic agent
4.การรักษาด้วยไฟฟ้า ECT
กำรรักษำด้วยไฟฟ้า (Electro Convulsive Therapy) หมำยถึง การปล่อยกระแสไฟฟ้าเข้าไปในสมอง เพื่อให้เกิดควำมสมดุลของสำรสื่อประสาท (Neurotransmitter)
1.Modified electro convulsive therapy
เป็นการบำบัดรักษาด้วยไฟฟ้าที่มีการเตรียมผู้ป่วย และใช้ยาที่ใช้ในการระงับความรู้สึก และให้กล้ามเนื้อคลายตัวมาใช้ร่วมด้วย
ผู้ให้การบำบัดรักษาจะต้องสังเกตความรุนแรงของการชัก เพื่อปรับขนาดยาให้เหมาะสมในครั้งต่อไป โดยปกติผู้รักษาจะบันทึกระยะเวลาของการชักไว้ด้วย เพื่อเปรียบเทียบหรือปรับขนาดยา
คือการใช้ยาเข้าไปช่วย
2.Unmodified electro convulsive therapy
เป็นการบำบัดรักษาด้วยไฟฟ้าโดยไม่ใช้ยา ในขณะเริ่มรักษาจัดท่าให้ผู้ป่วยนอนราบ ติดอิเล็กโทรดที่ขมับ แล้วปล่อยกระแสไฟฟ้า
ผู้ป่วยจะเกิดอาการชัก เช่นเดียวกับการทำแบบ Modified electro convulsive therapy แต่ที่แตกต่างกันคือ ผู้ป่วยที่ทำแบบ Unmodified electro convulsive therapy จะมีการชักเกร็งมากกว่า Modified electro convulsive therapy
คือแบบที่ไม่ใช้ยาซึ่งผู้ป่วยยังรู้สึกตัวขณะทำ ECT
ECT ทำให้เกิด Grandmal seizureคือกระตุกทั่วตัว
ป่วยที่ต้องระวังเป็นพิเศษขณะทำ ECT คือผปู้่วยมีความดันในกะโหลกศีรษะสูงได้แก่ เนื้องอกในสมอง หรือผู้ที่มีปัญหำเกี่ยวกับเส้นเลือดในสมอง
ใช้กระแสไฟฟ้ำสลับ 70 -130โวลท์ เวลำ 0.1 - 0.3วินำที
การรักษาด้วยไฟฟ้าอย่างละเอียด
เตรียมด้านร่างกายและจิตใจ อธิบายเหตุผลในการทำECT บอกข้ันตอน ในการทำอย่างคราวๆใช้
หลังทำให้วัดสัญญาณชีพ ใช้ผ้าชุบน้ำ เช็ดหน้าผู้ป่วยเพื่อให้ผู้ป่วย รู้สึกสดชื่น ดูแลให้ผู้ป่วยนอนพัก30 นาทีถึง 1ชั่วโมง หรือจนกว่าผู้ป่วยควบคุมสติตัวเองได้
5.การจำกัดพฤติกรรม
ผู้ป่วยที่มีปัญหาด้านจิตใจและอารมณ์ ที่มักจะควบคุมตนเองไม่ได้
เอะอะ อาละวาด ก้าวร้าว รุนแรง สับสน และวุ่นวาย
มี 5 ประเภท
1) Destructive behavior เป็นพฤติกรรมที่แสดงออกในรูปของการทำลายเป็นอันตรายต่อตนเองและผู้อื่น หรือทำให้สิ่งของเสียหาย
2) Disorganized behavior เป็นพฤติกรรมสับสน วุ่นวาย มีพฤติกรรมแปลกๆ หรือมีพฤติกรรมถดถอย (Regression)
3) Deviant behavior เป็นพฤติกรรมที่แสดงออกมาจากผลของการขัดแย้งในใจ หรือเรียกกว้างๆ ว่า acting out
4) Dysphoric behavior เป็นพฤติกรรมที่แสดงออกถึงความไม่สบายต่างๆ เช่น ภาวะซึมเศร้า (Depression) หรือไม่อยู่ในโลกของความเป็นจริง (Out of reality)
5) Dependent behavior เป็นพฤติกรรมที่ต้องยึดผู้อื่นหรือพึ่งพิงผู้อื่น เช่น ผู้ติดยาเสพติด
การผูกยึดผู้ป่วย (Restraint)
การใช้ผ้าสำหรับผูกยึดผู้ป่วยเพื่อจำกัดการเคลื่อนไหวของผู้ป่วย มักใช้กับผู้ป่วยที่ไม่สามารถควบคุมตนเอง มีพฤติกรรมก้าวร้าว
การใช้ห้องแยก (Room seclusion)
การใช้ห้องแยกผู้ป่วยออกจากสิ่งกระตุ้น เพื่อความปลอดภัยของตัวผู้ป่วย
2.กลุ่มกิจกรรมบำบัด
การบําบัดโดยทํากิจกรรมร่วมกันเป็นกลุ่มแต่ละกลุ่มแตกต่างกันไปตามวัตถุประสงค์ ปรับปรุงความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
ทีมผู้บําบัด
Leader
วางแผนการจัดกลุ่ม
ติดต่อประสานงามกับทีมบําบัด
ร่วมกันคัดเลือกและประเมินผู้ป่วยก่อนเข้ากลุ่ม
ดำเนินกลุ่มและเสนอแนะ
Co-leader
ช่วยเหลือในการเตรียมการ
เอื้อผู้นำ กระตุ้นสมาชิก
เตือนเมื่อผู้นำกลุ่มลืมประเด็น
ช่วยรักษาเวลาและกติกา
Recorder
มีหน้าที่จดบันทึกการดำเนินการ
Observer
สังเกตและบันทึกการดำเนินการ
ประเมินผลและข้อเสนอแนะ
ระยะเวลาในการทำกลุ่ม
กลุ่มขนาดเล็ก 8-12 คน
ใช้เวลา 30 นาที เช่นวาดภาพ
กลุ่มขนาดกลาง 20-30 คน
ใช้เวลา 60 นาทีเช่น เล่นกีฬา
กลุ่มขนาดใหญ่ 30-50 คน
ใช้เวลา 60-120 นาที เช่นนันทนาการ
ขั้นตอนการดำเนินงาน
ขั้นเริ่มต้น
เปิดกลุ่ม คุยเรื่องทั่วไป
บอกวันเวลา สถานที่ ชื่อกลุ่ม ระยะเวลา วัตถุประสงค์ กฎกติกา
ขั้นดำเนินงาน
เปิดเผยตัวตน ระบายความรู้สึก
ให้ความร่วมมือ แก้ปัญหาร่วมกัน
กระตุ้นสมาชิกรับฟัง
กีรพัชร แพงแซง 36/1 เลขที่ 13 61111301014