Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคต้อกระจก (Cataract)
F7126BB9-9CDE-4688-83B0-EB8288D680B4 - Coggle…
โรคต้อกระจก (Cataract)
พยาธิสภาพ
สาเหตุ
- พิษและสารเคมี เกิดจากการสัมผัสกับสารพิษ หรือสารเคมีบริเวณลูกตา เช่น โลหะหนัก กรด ด่าง ทำให้เกิดความเสียหายแก่ เนื้อเยื่อเลนส์ตา
-
- การประสบอุบัติเหตุจากการโดนกระทบกระแทกบริเวณลูกตาหรือโดนของมีคมทิ่มแทง
- พันธุกรรม เกิดความปกติจากการเจริญเติบโตของลูกตา ซึ่งพบได้ในเด็กแรกเกิด
- โรคเกี่ยวกับตา เช่น โรคม่านตาดำอักเสบ ส่งผลให้เกิดต้อกระจกตามมา
โรคต้อกระจกเป็นโรคที่เกิดขึ้นกับทุกเพศ ทุกวัย แต่พบมากในวัยสูงอายุที่เกิดจากการเสื่อมของเนื้อเยื่อแก้วตาและเกิดจากสาเหตุอื่นๆ ดังนี้
-
- โรคอื่นๆ เช่น โรคระบบประสาท โรคเบาหวาน โรคต่อมไทรอยด์เป็นพิษ เป็นต้น
อาการและอาการแสดง
มองเห็นภาพซ้อน (diplopia) เนื่องจากการหักเหของแสงในเลนส์ที่มีการเปลี่ยนแปลง หรืออาจมีอาการกลัวแสง (photophobia)
-
ตาพร่ามัวลงอย่างช้าๆ (blur vision) โดยไม่มีอาการเจ็บปวด (painless) และมักให้ประวัติว่ามองเห็นในที่สลัวได้ดีกว่าที่สว่าง
-
-
-
ต้อกระจก (Cataract) เป็นภาวะที่แก้วตาภายในลูกตาเสื่อมลงจนมีลักษณะขุ่นขาว (Lens opacity) อาจเกิดที่ Neucleus, Cortex หรือเนื้อใต้เปลือกหุ้มเลนส์แก้วตาจากปกติที่มีลักษณะโปร่งใสเหมือนกระจก เมื่อแก้วตาขุ่นขาวจะมีลักษณะทึบแสง ทำให้บดบังแสงที่จะผ่านเข้าไปในตา แสงจึงส่งผ่านเข้าสู่ลูกตาไปรวมตัวที่จอประสาทตาหรือเรตินาได้ไม่เต็มที่ แบ่งได้เป็น 4 ระยะ ดังนี้
ต้อกระจกเริ่มเป็น (Incipient stage) เป็นระยะแรกของต้อกระจกในผู้สูงอายุ อาจเกิดการขุ่นขาวบริเวณรอบนอกของเลนส์แก้วตา แต่เนื้อตรงกลางหรือนิวเคลียสยังใสอยู่หรือเนื้อตรงกลางขาวขุ่นแต่เนื้อรอบนอกใส
ต้อกระจกสุก (Mature stage) ระยะนี้น้ำถูกขับออกจากเลนส์แก้วตา ทำให้เลนส์แก้วตาแข็งกว่าเดิมและมีสภาพขุ่นขาวทั่ว ระยะนี้เป็นระยะที่เหมาะสมต่อการผ่าตัดเอาเลนส์แก้วตาขุ่นขาวออก
ต้อกระจกที่มีการบวมน้ำ (Intumescent stage) ในระยะนี้มีการเปลี่ยนแปลงของแรงดันออสโมติกและส่วนประกอบสารเคมีของเลนส์แก้วตา ทำให้น้ำซึมผ่านเลนส์แก้วตามากขึ้น ทำให้เลนส์แก้วตาบวมน้ำ ส่งผลให้เลนส์แก้วตาสูญเสียความใสและเกิดความขุ่นขาวมากขึ้น
ต้อกระจกสุกเกินไป (Hypermature stage) เลนส์แก้วตาขุ่นมากขึ้น จะเห็นเป็นสีขาวนวลเหมือนสีน้ำนมเพราะเนื้อส่วนรอบนอกของเลนส์แก้วตาเกิดเสื่อมและกลายเป็นของเหลว สายตามัวลงอย่างมาก หากไม่ได้รับการรักษาจะผ่าตัดได้ยากขึ้น อีกทั้งบางรายก่อให้เกิดการอักเสบภายในดวงตาจากการมี protein รั่วออกจากแก้วตา ตลอดจนอาจก่อให้เกิดต้อหินตามมา
การวินิจฉัยโรค
การตรวจร่างกาย
1.การตรวจวัดสายตา (Visual Acuity Test)
2.การทดสอบโดยขยายรูม่านตา (Retinal Eye Exam)
3.การตรวจโดยใช้กล้องจุกษุจุลทรรศน์ลนิดลำแสงแคบ (Slit Lamp Examination)
4.การตรวจวัดความดันลูกตา (Tonometry Test)
ตรวจตาและการมองเห็นพบ
- cornea: Arcus senilis both eyes
- pupil: cloudy both eyes; 3 mms in diameter; react to light both eyes, RA
- visual acuity: right eye can count finger 5 feet (CF/5ft) , left eye = 20/30
- intraocular pressure: right eye= 18 mm.Hg, left eye = 16 mm.Hg
-
-
การรักษา
Phacoemulsification (PE) with Intraocular Lens (IOL)
การผ่าตัดโดยการนำคลื่นเสียงความถี่สูง (ultrasound ) มาสลายเลนส์แล้วดูดออก (phacoemulsification) และใส่เลนส์เทียมเข้าไปแทนที่ การผ่าตัดนี้จะมีแผลขนาดเล็กและมีภาวะแทรกซ้อนน้อย
-
Intracapsular cataract extraction (ICCE)
การผ่าตัดเอาเลนส์ที่ขุ่น พร้อมทั้งเปลือกหุ้มเลนส์ด้านนอกและด้านหลังออก ซึ่งปัจจุบันไม่เป็นที่นิยม
Extracapsular cataract extraction (ECCE)
การผ่าตัดเอาเลนส์ที่ขุ่นและเปลือกหุ้มเลนส์ด้านหน้าออก เหลือเปลือกด้านหลังไว้ เพื่อใส่เลนส์เทียมแทน
ข้อมูลกรณีศึกษา
-
ข้อมูลแรกรับ
-
-
-
การตรวจร่างกาย
• cornea: Arcus senilis both eyes
• pupil: cloudy both eyes; 3 mms in diameter; react to light both eyes, RA
• visual acuity: right eye can count finger 5 feet (CF/5ft) , left eye = 20/30
• intraocular pressure: right eye= 18 mm.Hg, left eye = 16 mmHg
-
-