Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย, นายวัฒนะ บุตรสุวรรณ์ รหัส 636322332…
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย
วิธีการแสวงหาความรู้
เชื่อตามคำบอกเล่าของผู้รู้ ผู้มีอำนาจ (authority )
ขนบธรรมเนียมประเพณีที่เชื่อกันมา (tradition)
โดยใช้ประสบการณ์ของตนเอง (personal experience)
โดยการลองผิดลองถูก (trial and error )
โดยการหยั่งรู้ (intuition)
โดยการใช้ความรู้สึก (subjective)
โดยผู้เชี่ยวชาญ (expert)
โดยการใช้หลักเหตุผลเชิงตรรกศาสตร์
วิธีอนุมาน (deductive reasoning)
วิธีอุปมาน (inductive)
วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (scientific Method)
ความหมายของการวิจัย
กระบวนการเสาะแสวงหาความรู้ใหม่ๆ ที่เป็นความจริงอย่างมีระบบ และมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน โดยอาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร์เป็นหลัก รวมถึงการประยุกต์ใช้วิธีการของศาสตร์สาขาต่างๆ ที่เป็นที่ยอมรับว่าจะทาให้ได้ความจริงที่เชื่อถือได้ และมีการดาเนินการตามลาดับขั้นตอนแต่ละขั้นตอนมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ลักษณะของการวิจัย
เบสท์ (Best&Kahn)
เป้าหมายของการวิจัยใช้ในการวิจัย
การวิจัยเน้นถึงการพัฒนาข้อสรุป
การวิจัยจะอาศัยข้อมูล หรือเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่สามารถสังเกตได้รวบรวมได้
การวิจัยต้องการเครื่องมือและการรวบรวมข้อมูลที่แม่นยา เที่ยงตรง
การวิจัยจะเกี่ยวข้องกับการรวบรวมข้อมูลใหม่ ๆ
กิจกรรมที่กำหนดไว้อย่างมีระบบแบบแผน
การวิจัยต้องการผู้รู้จริงในเนื้อหาที่จะทาการวิจัย
การวิจัยเป็นกระบวนการที่มีเหตุผล และมีความเป็นปรนัยสามารถที่จะทำการรวบรวมหาข้อสรุปได้
สามารถที่จะทำซ้าได้ โดยใช้วิธีเดียวกัน หรือวิธีการที่คล้ายคลึงกันถ้ามีการเปลี่ยนแปลง กลุ่มประชากร สถานการณ์หรือระยะเวลา
การทำวิจัยนั้นจะต้องมีความอดทนและรีบร้อนไม่ได้
การเขียนรายงานการวิจัยควรจะทำอย่างละเอียดรอบคอบ ศัพท์เทคนิคที่ใช้ควรจะบัญญัติความหมายไว้วิธีการที่ใช้ในการวิจัยอธิบายอย่างละเอียด
การวิจัยนั้นต้องการความซื่อสัตย์และกล้าหาญในการรายงานผลการวิจัยในบางครั้ง ซึ่งอาจจะไปขัดกับความรู้สึกหรือผลการวิจัยของคนอื่นก็ตาม
จุดมุ่งหมายและประโยชน์ของการวิจัย
เพื่อการบรรยาย (Description)
เพื่อการอธิบาย (Explanation)
เพื่อการทำนาย (Prediction)
เพื่อการควบคุม (Control)
เพื่อการพัฒนา (Development)
ประโยชน์ของการวิจัย
ทำให้ได้ความรู้ใหม่ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ
ทำให้รู้ข้อบกพร่องและรู้วิธีการแก้ไขในงานหรือปัญหาต่าง ๆ
ช่วยให้เข้าใจปรากฎการณ์และพฤติกรรมต่าง ๆ
ช่วยในการทางาน หรือพยากรณ์ผลภายหน้าของสถานการณ์ ปรากฎการณ์และพฤติกรรมต่าง ๆ ได้ถูกต้อง
ช่วยให้ได้ข้อมูลเพื่อใช้ในการวินิจฉัย หรือตัดสินใจในปัญหาต่าง ๆได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จรรยาบรรณของนักวิจัย
นักวิจัยต้องซื่อสัตย์และมีคุณธรรมในทางวิชาการ และการจัดการ
นักวิจัยต้องตระหนักถึงพันธกรณีในการทาวิจัยตามข้อตกลงที่ทาไว้กับหน่วยงานที่สนับสนุนการวิจัยและต่อหน่วยงานที่ตนสังกัด
นักวิจัยต้องมีพื้นฐานความรู้ในสาขาวิชาการที่ทำวิจัย
นักวิจัยต้องมีความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ศึกษาวิจัยไม่ว่าจะเป็นสิ่งที่มีชีวิตหรือไม่มีชีวิต
นักวิจัยต้องเคารพศักดิ์ศรีและสิทธิของมนุษย์ที่ใช้เป็นตัวอย่างในการวิจัย
นักวิจัยต้องมีอิสระทางความคิดโดยปราศจากอคติในทุกขั้นตอนของการวิจัย
นักวิจัยพึ่งนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในทางที่ชอบ
นักวิจัยพึ่งเคารพความคิดเห็นทางวิชาการของผู้อื่น
นักวิจัยพึ่งมีความรับผิดชอบต่อสังคมทุกระดับ
ขั้นตอนของการวิจัย
การกำหนดปัญหา (problem )
การตั้งสมมติฐาน (hypothesis )
การเก็บรวบรวมข้อมูล (collection of data )
4.การวิเคราะห์ข้อมูล (collection of data)
5.การสรุปผล (conclusion)
ขั้นตอนของการวิจัย (ต่อ)
เลือกหัวข้อปัญหา
การกำหนดขอบเขตของปัญหา
การศึกษาเอกสารและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดสมมติฐาน
การเขียนเค้าโครงการวิจัย
6.การสร้างเครื่องมือรวบรวมข้อมูล
ขั้นดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล
ประเภทของการวิจัย
แบ่งตามจุดมุ่งหมายของการวิจัย
การวิจัยพื้นฐาน (basic research)
การวิจัยประยุกต์ (applied research)
แบ่งตามคุณลักษณะของข้อมูล
การวิจัยเชิงปริมาณ (quantitative research)
การวิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative research)
แบ่งตามระดับของการศึกษากับตัวแปร
การวิจัยเพื่อสารวจ (exploratory study)
การวิจัยเพื่อตรวจสอบสมมุติฐาน (hypothesis testing study)
แบ่งตามชนิดของข้อมูล
การวิจัยเชิงทฤษฎี (theoretical research)
การวิจัยเชิงประจักษ์ (empirical research)
แบ่งตามระเบียบวิธีการวิจัย
การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ (historical research )
การศึกษารายกรณี
การศึกษาพัฒนาการ
การศึกษาความเปลี่ยนแปลง
การวิจัยเชิงบรรยาย (descriptive research )
การวิจัยเชิงสำรวจ
การศึกษาเชิงความสัมพันธ์
การวิจัยเชิงพัฒนาการ
การวิจัยเชิงทดลอง (experimental research)
จำแนกตามสภาพแวดล้อมของการศึกษา
การทดลองในห้องปฏิบัติการ
การทดลองในสนาม
จำแนกตามวิธีการศึกษาตัวแปร
การทดลองแท้
การทดลองเชิงกึ่งทดลอง
แบ่งตามเวลา
การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ (historical research)
การวิจัยร่วมสมัย (contemporaneous research)
การวิจัยเชิงอนาคต (futuristic research)
แบ่งตามศาสตร์หรือสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
การวิจัยสาขาวิทยาศาสตร์
การวิจัยสาขาสังคมศาสตร์
คุณสมบัติของนักวิจัย
ด้านอารมณ์หรือทัศนคติ
ด้านความรู้ความสามารถ
ด้านความสามารถในการตัดสินใจ
นายวัฒนะ บุตรสุวรรณ์
รหัส 636322332-03