GAS

การหาความดันและอุณหภูมิของแก๊สผสม

อุณหภูมิผสม

nผสมTผสม = n1T1+n2T2+…

ความดันผสม

PผสมVผสม = P1V1+P2V2+…

พลังงานภายในระบบ

U = Ek =NEk =3/2PV =3/2NkBT = 3/2nRT

สมการเปลี่ยนแปลงพลังงานภายใน

ΔU = 3/2ΔPV = 3/2NkBΔT = 3/2nRΔT

กฎของแก๊ส

PV = nkBT = nRT

n = m/M

งานกับการเปลี่ยนแปลงปริมาตรของแก๊สเมื่อความดันคงที่

W =PΔV = NkBΔT = nRΔT

การเปรียบเทียบสภาวะแก๊ส

กรณีมีการรั่วไหลจากภายใน (m N n มีการเปลี่ยนแปลง )

P1V1/n1T1 = P2V2/n2T2

P1V1/m1T1 = P2V2/m2T2

P1V1/N1T1 = P2V2/N2T2

P1/ρ1T1 = P2/ρ2T2

กรณีไม่มีการรั่วไหลจากภายใน (m N n คงที่)

P1V1/T1 = P2V2/T2

P1V1/ρ1T1 = P2V2/ρ2T2

Pสมบูรณ์ = Pเกจ + Pบรรยากาศ

กฎเทอร์โมไดนามิกส์

∆Q = ∆U + W

ความร้อนที่ให้แก่ระบบ มีค่าเท่ากับผลรวมของพลังงานภายในกับงานที่ระบบทำ

การหาอัตราเร็วรากที่สองกำลังสองเฉลี่ย

Vrms = √3/2/√ρ = √3RT/√M = √3NkBT/√m

Vrms = √(N1V1)^2 = √(N2V2)^2 /√Nรวม

คุณสมบัติของแก๊สจากการทดลอง

กฎของชาร์ล

P คงที่

V1/T1 = V2/T2

กฎของบอยล์

T คงที่

P1V1 = P2V2

กฎของเกย์-ลูสแซก

Vคงที่

P1/T1 =P2/T2

ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส

ความดันตามทฤษฎีจลน์ของแก๊ส

แบบจำลองของแก๊ส

แก๊สมีแรงยึดเหนี่ยวโมเลกุลน้อย

ความดันและพลังงานจลน์เฉลี่ยของแก๊ส

PV = Nm (v^2 /3)

พลังงานจลน์เฉลี่ย

ΣEk = NEk = 3/2PV

ค่าความดันจะขึ้นอยู่กับอัตราเร็ว จำนวนโมเลกุล และ ความถี่ของการเข้าชน

แต่แต่ละโมเลกุลของแก๊สเคลื่อนที่อย่างไร้ระเบียบ

การชนของแก๊สเป็นการชนแบบยืดหยุ่น