Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
การประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ
การประเมินภาวะสุขภาพอย่างเป็นองค์รวม
การประเมินภาวะสุขภาพอยา่งเป็นองคร์วมนั้นต้องตระหนักหรือพิจารณาขอ้มูลอยา่งเป็นองคร์วมโดยมีการพิจารณาปัจจยัต่างๆที่มีผลต่อสุขภาพอยา่งเป็นระบบและครอบคลุมท้งัปัจจัยดา้นสุขภาพต่างๆระยะพฒันาการสุขภาพ
ปัญหาสุขภาพทสำคัญของผู้สูงอายุ
1.ภาวะหกล้ม(falling) 2.ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่ได้(Incontinence) 3.ภาวะสับสน(confusion)4.ความผิดปกติจากการดูแลรักษา(Iatrogenic disorder) 5.ภาวะสมดุลบกพร่อง(impaired homeostasis)
3) Incontinence หมายถึงอาการปัสสาวะหรืออุจจาระโดยไม่ไดต้้งัใจมีอาการกลั้นอุจจาระปัสสาวะไม่ได้อาจ เนื่องมาจากภาวะสับสนเฉียบพลัน(delirium) ภาวะสมองเสื่อม (dementia) ต่อมลูกหมากโตหรือการติดเช้ือใน ทางเดินปัสสาวะ (UTI)
4) Intellectual impairment หรือภาวะการณรู้คิดบกพร่องหากพบวา่ผปู้่วยมีความจา เสื่อมภาวะสับสนเฉียบพลันหรือภาวะซึมเศร้าควรไดร้ับการประเมินและวินิจฉัยแต่เนิ่นๆ เพื่อได้รับการรักษาที่ถูกต้องหรือให้การ ช่วยเหลือที่จำเป็น
2) Instability หรือความไม่มั่นคงทำใหเ้กิดภาวะเสี่ยงต่อการหกล้ม(fall) เช่นเดินหกล้ม ข้อมือหักกระดูกสะโพกหัก ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญคือ ประสาทการรับรู้ลดลง (การมองเห็น การได้ยิน)
5) Iatrogenic เป็นภาวะแทรกซอ้นหรือผลขา้งเคียงที่เกิดจากการรักษาหรือคำแนะนำทางการแพทยจ์ากผใู้หบริการทางด้านสุขภาพควรหลีกเลี่ยงใหผู้สูงอายใุช้ยาร่วมกันหลายชนิด
1) Immobility เป็นภาวะพร่องความสามารถในการเคลื่อนไหวอยา่งอิสระส่งผลทำใหเ้กิดข้อจำกดัในการดำเนินชีวิตมจะมาจากหลายสาเหตุเช่นโรคกระดูกและกลา้มเน้ือโรคหวัใจและปอดโรคหลอดเลือดสมองหรือต้อกระจกฯลฯ
การประเมินปัญหาสุขภาพด้านร่างกาย( Evaluation of Physical status)
ประกอบด้วยการซักประวัติต่างๆคืออาการสำคญัขอ้มูลทั่วไปของผู้สูงอายุประวัติความเจ็บป่วยในปัจจุบันประวัติความเจ็บป่วยในอดีตประวัติส่วนตัวประวัติการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคประวัติครอบครัวประวัติการ ใช้ยา ประวัติการรับประทานอาหาร และการประเมินภาวะโภชนาการ(เช่นนำ้หนักตวัอาจใช้เครื่องมือMini-Nutritional Assessment : MNA) ประวัติหกลม้และอาการในกลุ่มที่พบบ่อยการประเมินภาวะหกลม้ (fall assessment) การประเมินท่าเดิน
การประเมินสภาพสมอง การรู้คิดและสภาวะจิตใจ (evaluation of cognitive and mental status)
การประเมินความจำเบื้องต้นการใชแ้บบทดสอบสภาพสมองเบื้องต้น ฉบบัภาษาไทย: MMSE-Thai 2002 ซ่ึงค่าคะแนนที่ตำ่กวา่ เกณฑที่กำหนดในแต่ละระดบัการศึกษาถือวา่ มีความผดิปกติดา้นความจำ
การประเมินภาวะสมองเสื่อมโดยใช้การวาดหน้าปัดนาฬิกา(Clock Drawing Test)
แบบทดสอบวาดหน้าปัดนาฬิกา (Clock Drawing Test)สำหรับผู้สูงอายุที่มีปัญหาความจำที่สามารถอ่านออกเขียน ได้พบวา่การทดสอบวาดหนา้ปัดนาฬิกาจะให้ผลในการตรวจคัดกรองผู้มีภาวะสมองเสื่อมได้
ขั้นทดสอบ
2.นำกระดาษที่มีรูปวงกลมยื่นให้ผู้สูงอายุและพูดวา่สมมุติวงกลมนี้เป็นหนา้ปัดนาฬิกาให้ค้ณยาย(ตา)เขียนตัวเลข ลงในวงกลมนี้ใหเ้หมือนกับตัวเลขที่หนา้ปัดนาฬิกา
3.ยื่นดินสอให้ผู้สูงอายุและให้เวลาเขียนตัวเลขนานเทา่ที่ผู้สูงอายุต้องการ
1.ถามผู้สูงอายุว่าพอจะเขียนตัวเลขและวาดรูปเป็นหรือไม่ถา้ผู้สูงอายุตอบวา่เป็นให้ทำข้อต่อไป
4.เมื่อผู้สูงอายุเขียนตัวเลขเสร็จแลว้บอกให้ผู้สูงอายุวาดเขม็นาฬิกาที่มีทั้งเข็มส้ันและเข็มยาวโดยให้เข็มชี้บอกเวลา 11 นาฬิกา 10 นาที
การประเมินการสนับสนุนทางสังคม(Evaluation of social-support status)
เป็นการค้นหาผู้ดูแล (care givers) ซึ่งในความเป็นจริงของสังคมอาจมีหลายคน หลายบทบาทหน้าที่และแม้จะเป้าหมายค้นหาผู้ดูแลหลักแต่ก็ยังให้ความสำคัญกับผู้ดูแลทุกคนพยาบาลจะประเมินว่าเมื่อผู้สูงอายุต้องการการดูแล ต่อเนื่องโดยเฉพาะที่บา้นแล้วผู้ดูแลสามารถให้การดูแลที่เพียงพอและเหมาะสม
การประเมินความสามารถเชิงปฏิบัติ(Evaluation of functional status)
1) ประเมินความสามารถของผสูู้งอายใุนการจัดการกับสิ่งแวดล้อมและจัดการเพื่อดูแลตนเอง
2) ประเมินสภาพร่างกายและจิตใจในส่วนที่เป็นองค์ประกอบของความสามารถเชิงปฏิบัติ
กิจวัตรประจำวันพื้นฐาน (basic activity of daily living) กิจกรรมนี้นับเป็นความกิจกรรมที่จำเป็นสำหรับผู้สูงอายใุนการดำรงชีวติอยา่งเป็นอิสระภายในบา้นหรือที่พักอาศัยเมื่อผสูู้งอายุมารับบริการเรื่องการตรวจสุขภาพทั่วไปมีปัญหาการเจ็บป่วยหรือมีภาวะทุพพลภาพ พยาบาลควรประเมินกิจวตัรประจำวันพื้นฐานของผู้สูงอายุซึ่งมีประโยชน์