Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เด็กชายปัณวัฒน์ อายุ 5 เดือน Dx. Acute bronchiolitis, นางสาวพัชรีวรรณ…
เด็กชายปัณวัฒน์ อายุ 5 เดือน
Dx. Acute bronchiolitis
A2: เสี่ยงต่อภาวะชักเนื่องจากมีไข้สูง
กิจกรรมการพยาบาล
สอนผู้ปกครองเช็ดตัวลดไข้เมื่อมีไข้ด้วยน้ำอุณหภูมิห้องหรือน้ำธรรมดา
4.สวมใสเสื้อผ้าที่บาง โปร่งสบาย ให้ผู้ป่วย
2.ดูแลให้ได้รับยาลดไข้ตามแผนการรักษา
Paracetamol drop 0.6 ml PRN q 4 hr.
5.จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบสงบ ไม่มีแสง เสียงรบกวน และควรเป็นที่โล่ง มีลมพัดผ่าน
1.วัดสัญญาณชีพ ทุก 4 ชั่วโมง
6.วัดอุณหภูมิร่างกายซ้ำทุก 30 นาที
7.ให้คำแนะนำแก่ผู้ปกครองเมื่อผู้ป่วยมีอาการชัก
ข้อมูลสนับสนุน
O: อุณหภูมิร่างกาย 38.8 องศาเซลเซียส
A1: เสี่ยงต่อการเกิดภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจน เนื่องจาก
การอักเสบของหลอดลมฝอย
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลให้ได้รับ Oxygen cannula 1 LPM ตามแผนการรักษา
3.ฟังเสียงปอดก่อนการให้ยาพ่นและหลังการให้ยาพ่น
ประเมินภาวะพร่องออกซิเจน เช่น การหายใจลำบาก หายใจหอบ หายใจเข้ามีเสียงดัง หน้าอกบุ๋ม ปีกจมูกบาน ผิวซีด เขียว ซึม ระดับความรู้สึกตัวลดลง กระสับกระส่าย
4.ดูแลทางเดินหายใจให้โล่งโดยการให้ยาพ่นAdrenaline 0.5 ml + NaCl up to 4 ml q 6 hr.สลับ Ventolin 0.5 ml + NSS up to 4 ml q 6 hr.
6.จัดสิ่งแวดล้มให้สงบ รบกวนผู้ป่วยเมื่อจำเป็นและพยายามจัดกิจกรรมการพยาบาลให้อยู่ในช่วงเวลาเดียวกัน
7.ดูแลให้ได้รับการดูดเสมหะเมื่อจำเป็นหลังการพ่นยาและเคาะปอด
Monitor Oxygen saturation keep > 95% q 4 hr.
Monitor vital sign q 4 hr.
10.ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะและยาขับเสมหะตามแผนการรักษา
-Cefotaxime 280 mg V q 8 hr.
-Ambroxol 1 CC Oral tid.pc
5.ดูแลการทำกายภาพบำบัดทรวงอก เช่น การเคาะปอด
ข้อมูลสนับสนุน
S: ผู้ปกครองให้ข้อมูลว่า “มีอาการหายใจเหนื่อยหอบ เวลาไอ”
“หายใจมีเสียงดัง”
O: - Oxygen saturation 96%
-ฟังปอดพบเสียง rhonchi both lung
A4: มีโอกาสได้รับสารอาหารไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกายเนื่องจากมีอาการเหนื่อยหอบ
กิจกรรมการพยาบาล
2.ก่อนให้อาหารหรือนมคนประเมินเสมหะในทางเดินหายใจก่อน
3.ถ้ามีมากควรช่วยระบายเสมหะโดยการกายภาพบำบัดทรวงอกก่อน
1.ดูแลให้ได้รับสารอาหารหรือนมให้เพียงพอทั้งทางปาก BM/F3 90cc X 6 feed
4.ดูแลความสะอาดปากเพื่อกระตุ้นให้อยากอาหารและรับประทานอาหารได้
ชั่งน้ำหนักทุกวันโดนใช้เครื่องชั่งเดียวกันและชั่งในเวลาเดียวกัน ปกตินิยมชั่งก่อนอาหารเช้า
ข้อมูลสนับสนุน
S:ผู้ปกครองให้ข้อมูล “ผู้ป่วยกินนม 3 มื้อ อาเจียนหลังกินนม 2 ครั้ง”
ผู้ปกครองให้ข้อมูล “ผู้ป่วยเหนื่อยหอบเวลาไอ”
O:ผู้ป่วยควรได้รับพลังงาน 580 กิโลแคลลอรี่/วัน หรือคิดเป็น 5 ออนซ์ต่อมื้อ
ผู้ป่วยนำ้หนัก 5.8
A3 :มีโอกาสขาดสารน้ำเนื่องจากได้รับสารน้ำลดลงจากอาการหายใจหอบเหนื่อยและมีการสูญเสียน้ำเพิ่มขึ้นจากภาวะไข้
กิจกรรมการพยาบาล
3.วัดสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
4.แนะนำให้ผู้ปกครองดูแลให้ผู้ป่วยได้รับน้ำตามความต้องการของร่างกายโดย 1วันแบ่งเป็น 3 เวลา เวลาช่วงเช้า ช่วงบ่าย ช่วงดึก ตามช่วงเวลาละ10 ออนซ์
2.บันทึกปริมาณสารน้ำที่ได้รับและขับออกจากร่างกายของผู้ป่วยทุกวัน
1.ประเมินภาวะขาดสารน้ำ เช่น ปากแห้ง ซึม ปัสสาวะออกน้อย
ข้อมูลสนับสนุน
S: ผู้ปกครองให้ข้อมูล “ผู้ป่วยปัสสาวะ2-3 ครั้ง ในกลางวัน”
“ผู้ปกครองให้ดื่มน้ำไปประมาณ 8 ออนซ์”
O: สารน้ำที่ผู้ป่วยควรได้รับต่อวัน = 870 ซีซี/ วันหรือ 29 ออนซ์ต่อวัน แบ่งเป็น 10 ออนซ์ต่อมื้อ
“หลังจากไอ ผู้ป่วยอาเจียน2ครั้ง ในกลางวัน”
A5 : มีโอกาสแพร่กระจายเชื้อเนื่องจากเชื้อโรคสามารถติดต่อโดยระบบหายใจ
กิจกรรมการพยาบาล
2.ล้างมือก่อนและหลังดูแลผู้ป่วย
3.แนะนำเกี่ยวกับการเข้าเยี่ยมแก่ญาติ ไม่ควรให้ผู้มีภูมิคุ้มกันต่ำเข้าเยี่ยม
1.ให้การพยาบาลโดยยึดหลัก Aseptic technique
ดูและให้ได้รับบาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
Cefotaxime 280 mg V q 8 hr.
ข้อมูลสนับสนุน
S: ผู้ปกครองให้ข้อมูล “ผู้ป่วยมีไอเสียงก้อง”
O: มีไอ มีน้ำมูกเขียวข้น
-WBC = 11,000 ปกติ
-Lymphocyte = 55.2 สูง
-Neutrophil = 32.8 ต่ำ
-ติดเชื้อไวรัส
A6: ครอบครัวมีความวิตกกังวลเนื่องจากการเจ็บป่วยของเด็กและต้องอยู่โรงพยาบาล
กิจกรรมการพยาบาล
2.เปิดโอกาสให้ครอบครัวซักถามถึงข้อสงสัยหรือข้อมูลเกี่ยวกับโรคและพูดคุยระบายความรู้สึกและให้กำลังใจแก่ครอบครัว
3.อธิบายให้ครอบครัวเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุ อาการ อาการแสดง พยาธิสภาพการดำเนินของโรคและแนวทางการรักษาของผู้ป่วยเด็ก
1.สร้างสัมพันธภาพที่ดีและสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจกับผู้ป่วยเด็กและครอบครัว ให้การดูแลเด็กอย่างใกล้ชิดสร้างความมั่นใจเชื่อถือในการดูแลเด็ก
4.สนับสนุนให้ครอบครัวมีส่วนร่วมในการวางแผนและดูแลรักษาให้การพยาบาลแบบfamily-centered care
ข้อมูลสนับสนุน
S:ผู้ปกครองให้ข้อมูล “ผู้ป่วยมาอยู่โรงพยาบาลได้ 3 วันแล้ว กลัวว่าลูกจะมีอาการที่แย่ลง”
O: ผู้ปกครองมีสีหน้าที่วิตกกังวล
นางสาวพัชรีวรรณ ใจมา 6101210323