Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการเปลี่ยนแปลงของผุ้สูงอายุ - Coggle Diagram
กระบวนการเปลี่ยนแปลงของผุ้สูงอายุ
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญต่อกระบวนการสูงอายุคือ
ปัจจัยภายใน : สุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ พันธุ์กรรม ประสบการณ์ชีวิต ความเชื่อและวัฒนธรรม
ปัญหาทางด้านสุขภาพกายผสูู้งอายมุ กัจะมีปัญหาดา้นสุขภาพเสื่อมโทรม มีโรคภยัต่าง ๆเบียดเบียนท้งั โรคทางกายและทางสมอง ผู้มีอายุเกิน 65 ปี มักมีการเปลี่ยนแปลงทางสมอง คือ โรคสมองเสื่อม โรคหลงลืม โรค ซึมเศร้าคนไทยร้อยละ 66.4 มีปัญหาสุขภาพ ร้อยละ 14.6 ต้องล้มหมอนนอนเสื่อ ผู้สูงอายุหญิงมีปัญหาเกี่ยวกับ สุขภาพมากกว่าเพศชาย
ปัญหาทางด้านจิตใจผู้สูงอายุจะไม่ได้รับความเอาใจใส่และความอบอุ่นจากลูกหลานอย่างเพียงพอ ทำให้รู้สึกวา้เหว่อา้งวา้งและอาจจะมีความวิตกกงัวลต่าง ๆ เช่น กังวลวา่ จะถูกลูกหลานและญาติพี่น้องทอดทิ้ง
ปัจจัยภายนอก: การศึกษา เศรษฐานะวิถีการดา เนินชีวิต สิ่งแวดลอ้ม ความเครียดและการเกษียณอายุจากการ ทำงาน
ปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ ผู้สูงอายุที่มีฐานะไม่ดีไม่มีลูกหลานดูแลอุปการะเล้ียงดูอาจจะไม่มีรายได้ หรือรายไดไ้ม่เพียงพอสำหรับการเล้ียงชีพ ไม่มีที่อยู่อาศัยทำให้ได้รับความลำบาก สุขภาพทรุดโทรม ขาดเพื่อน ไม่รู้ ว่าจะมีชีวิตอยู่เพื่ออะไร
ปัญหาทางด้านความรู้ผู้สูงอายุไม่มีโอกาสได้รับความรู้เพื่อการพัฒนาตนเองให้เหมาะสมกับวัยและ สังคมที่เปลี่ยนแปลงไป เพื่อให้เข้ากันได้กับเยาวชนรุ่นใหม่โดยเฉพาะผู้สูงอายุไทย
ปัญหาทางด้านสังคมและวัฒนธรรม ผู้สูงอายุอาจจะไม่ได้รับการยกย่องจากสังคมเหมือนเดิม โดยเฉพาะผู้ที่เคยเป็ นข้าราชการต าแหน่งสูงซึ่งเคยมีอ านาจและบริวารแวดล้อม เมื่อเกษียณอายุราชการอาจเสียดาย อา นาจและตา แหน่งที่เสียไป เยาวชนและหนุ่มสาวหลายคนมีทศันคติไม่ดีต่อผูสู้งอายุเห็นคนรุ่นเก่าลา้สมัย พูดไม่รู้ เรื่องและไม่มีประโยชน์ถ้าสังคมมีแนวคิดว่าผู้สูงอายุ
ปัญหาเกี่ยวกับครอบครัว ปัญหาผู้สูงอายุที่น่าเป็ นห่วง คือ การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม ในอดีตจะเป็ นครอบครัวใหญ่ที่เรียกว่า ครอบครัวขยาย ท าให้มีความสัมพันธ์แน่นแฟ้นและเกิดความอบอุ่นระหว่าง พ่อแม่และลูกหลาน ในปัจจุบันครอบครัวคนไทยโดยเฉพาะในเขตเมืองจะเป็ นครอบครัวเดี่ยวเป็ นส่วนใหญ่
ปัญหาค่านิยมที่เปลี่ยนแปลง ปัจจุบันความเปลี่ยนแปลงจากภาวะทางด้านเศรษฐกิจและสังคมท าให้ เยาวชนมีความกตเวทีต่อพ่อแม่ ครูอาจารย์น้อยลง ผู้สูงอายุไม่ได้รับการดูแลต้องอาศัยสถานสงเคราะห์คนชรา ใน อนาคตเมื่อประเทศไทยเป็ นประเทศอุตสาหกรรมแบบใหม่
การเปลี่ยนแปลงด้านสรีรวิทยาระบบต่างๆ
ระบบการไหลเวียนเลือด (Cardiovascular system)ในผู้สูงอายุลักษณะโครงสร้างและขนาดของหัวใจอาจไม่เปลี่ยนแปลงกลา้มเน้ือหวัใจฝ่อลีบ มีเน้ือเยอื่ พงัผืดไขมนัและสารไลโปฟัสซินมาสะสมภายในเซลลม์ ากข้ึนผสูู้งอายบุ างรายอาจมีขนาดของหวัใจใหญ่ข้ึนซ่ึงเกิด จากพยาธิสภาพของโรคหัวใจความแขง็แรงของกลา้มเน้ือหวัใจลดลงผนังของหัวใจห้องล่างซ้าย (left ventricle)โดยจะหนาข้ึนประมาณร้อยละ25จากอายุ30-80 ปีลิ้นหวัใจแขง็และหนาข้ึน มีแคลเซียมมาเกาะมาก ข้ึน ทา ใหก้ารปิดเปิดของลิ้นหวัใจไม่ดีเกิดภาวะลิ้นหวัใจรั่วและตีบไดจึงพบภาวะเอมโบไลและธรอมโบซิสในผู้สูงอายไุด้บ่อยข้ึน ประสิทธิภาพการทำงานของหัวใจลดลงก าลังการหดตัวลดลง
ระบบทางเดินหายใจ (Respiratory system)หลอดลมและปอดมีขนาดใหญ่ข้ึน ความยดืหยนุ่ ของเน้ือปอดลดลง เพราะมีเส้นใยอีสาลตินลดลงความ แขง็แรงกา ลงัการหดตวัของกลา้มเน้ือที่ช่วยในการหายใจเข้าและหายใจออกลดลง การเปลี่ยนแปลงของกระดูกสัน หลงัและกระดูกซี่โครงตามวยัจะทา ใหท้ รวงอกมีลกัษณะผิดรูปทรวงอกแข็งข้ึน การเคลื่อนไหวของกระดูก ซี่โครงลดลงเพราะมีแคลเซียมมาเกาะที่กระดูกอ่อนชายโครงมากข้ึน
ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก(Musculoskeletal system)เมื่อเข้าสู่วัยหลังอายุ30ปีจา นวนและขนาดเส้นใยกลา้มเน้ือลดลง มีเน้ือเยื่อพงัผืด ไขมันและคอลลาเจนเข้า แทนที่มากข้ึน มวลของกลา้มเน้ือลดลง มีการสะสมของสารไลโปฟัสซินมากข้ึน ก าลังการหดตัวของกล้ามเน้ือ ลดลงประมาณร้อยละ12-15จากอายุ30-70ปีระยะเวลาที่ใชใ้นการหดตวัแต่ละคร้ังจะนานข้ึน ทำให้การเคลื่อนไหว ในลักษณะต่างๆช้าลง สาเหตุอาจเกิดจากการท างานของระบบต่อมไร้ท่อลดลง ร่างกายขาดการออกกำลังกาย ขาด สารอาหารที่สำคัญ
ระบบย่อยอาหาร(Digestion System)
ฟันของผู้สูงอายุไม่แข็งแรง เคลือบฟันบางลงแตกง่ายและมีสีคล้า ข้ึนเพราะมีการดูดซึมสารที่มีสีเขา้ไป สะสมมากข้ึน เหงือกที่หุม้คอฟันร่นลงไปทา ใหเ้ห็นฟันยาวข้ึน เซลล์สร้างฟันลดลงมีเน้ือเยอื่ พงัผืดเขา้แทนที่มากข้ึน ทำ ใหก้ารสร้างฟันลดลงท้งัปริมาณและคุณภาพ ฟันผุหรือหลุดร่วงง่ายข้ึน ส่วนใหญ่ของผู้สูงอายุจึงต้องใส่ฟัน ปลอมแต่ในรายที่ฐานะทางเศรษฐกิจไม่ดีจะไม่สามารถใส่ฟันปลอมได้เป็ นเหตุให้การเค้ียวอาหารไม่สะดวก ต้อง รับประทานอาหารอ่อนย่อยง่าย
ระบบประสาทและประสาทสัมผัส (Nervous system and Special senses) เซลล์สมองและเซลล์ประสาทมีจ านวนลดลงเรื่อยๆทำให้นำ้หนกั สมองลดลงร้อยละ10จากอายุ25-75 ปี ขนาดสมองลดลง และมีน้า หล่อเล้ียงสมองเพิ่มข้ึน เซลล์สมองและเซลล์ประสาทมีสารไลโปฟัสซิน (lipofuscin)และsenile plaquesของ amyloid มาสะสมมากข้ึน การเปลี่ยนแปลงต่างๆเหล่าน้ีจะเกิดข้ึนชา้ๆทา ให้ สังเกตได้ยาก ประสิทธิภาพการทำงานของสมองและประสาทอัตโนมัติลดลงความเร็วในการส่งสัญญาณประสาท ลดลง(conduction)velocity) โดยในเส้นประสาทยนต์(motornerves)จะลดลงร้อยละ15
ระบบทางเดินปัสสาวะและระบบสืบพนัธ์ุ (Urinary and Reproductive System) ขนาดของไตเล็กลงเหลือประมาณ1ใน5ของขนาดเดิม อัตราการกรองของเสียของไตลดลง
ขนาดน้า หนักไตลดลงประมาณร้อยละ 30 และหน่วยไตมีจ านวนลดลงร้อยละ30-40 เมื่ออายุ 25-85ปี หน่วยไตที่ เหลือจะมีขนาดใหญ่ข้ึน ผนงัหลอดเลือดแดงที่ไปเลี้ยงไตแข็งตัว ทำให้การไหลเวียนเลือดในไตลดลงประมาณร้อย ละ53 และอัตราการกรองของไตลดลงร้อยละ50 จากอายุ20ถึง90ปี การทำงานของท่อไตลดลงทำให้การดูดกลับของ สารต่างๆน้อยลง ความสามารถในการทำให้ปัสสาวะเข้มขน้ข้ึนลดลง เป็นเหตุใหป้ ัสสาวะเจือจางมากข้ึน
ระบบผิวหนัง (Integumentary system)การเปลี่ยนแปลงในระบบผิวหนังมีอิทธิพลมาจาก พันธุกรรม ภาวะสุขภาพ อาหารกิจกรรมและสิ่งที่มา สัมผัสผิวหนังการเปลี่ยนแปลงที่พบคือในวัยสูงอายุเซลล์ผิวหนังมีจ านวนลดลงและเซลล์ที่เหลืออยู่จะเจริญเติบโตช้ารวมท้งัอตัราการสร้างเซลล์ ใหม่ข้ึนมาทดแทนเซลลเ์ดิมลดลงถึง 50 เปอร์เซ็นต์ประกอบกับการไหลเวียนเลือดที่ผิวหนังลดลง
ระบบต่อมไร้ท่อ (Endocrine System)
น้า หนกั ต่อมใตส้ มองลดลงร้อยละ20 มีเน้ือเยื่อพงัผืดเขา้มาแทนที่มากข้ึน การไหลเวียนเลือดที่ต่อมใต้ สมองลดลง การผลิตฮอร์โมนต่างๆลดลง ต่อมไทรอยด์มีเน้ือเยื่อพงัผืดมาสะสมมากข้ึน การทา งานของต่อม ไทรอยด์ลดลงตามอายุเนื่องจากกลไกการกระตุ้นต่อมไทรอยด์จาก TSH ล้มเหลวท าให้ระดับไตรไอโอโดไทโรนิน
การเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจ
การเปลี่ยนแปลงที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ
คือ อาการ เช่น ซึมเศร้า เครียด วิตกกังวล นอนไม่หลับ เป็ นต้น ภาวะสมองเสื่อม ปัญหาทางเพศ รวมถึง กลุ่มอาการทางจิต เช่น โรคจิตเภท โรคอารมณ์แปรปรวน โรคหลงผิด ภาวะจิตฟ้ันเฟือน ภาวะสมองเสื่อม อาการ หวาดระแวง อาการประสาทหลอน อาการความคิดและพฤติกรรมสับสน อาการเก็บตัว
การเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์วิตกกังวลขาดความเชื่อมั่นในตนเอง นอ้ยใจ ตกใจง่าย ซึม ไม่พูดไม่จา เหม่อลอย ซึมเศร้า หมดกำลังใจ เบื่อหน่าย หมดความสนใจในกิจกรรมหรืองานที่ตนเองเคยชอบ ไม่มีสมาธิ
การเปลี่ยนแปลงทางร่างกายใจสั่น แน่นหน้าอก หายใจไม่ทั่วท้องอ่อนเพลียไม่มีแรง หายใจไม่ออก เบื่ออาหาร นอนหลบั นอ้ยลง ตื่นเชา้กวา่ ปกติปวดเมื่อยเนื้อตัว ปวดขา ปวดเข่า เดินลา บากไม่มีแรง
ด้านความสัมพันธ์ซ่ึงเป็นสาเหตุหลักของการเปลี่ยนแปลงดา้นอารมณ์เมื่อสูงวัยข้ึน ผู้สูงอายจุะพบการสูญเสียเสียชีวิตของคนใกลช้ิดมากยิ่งข้ึน เพราะคนใกลช้ิดและคนคุ้นเคยเช่น เพื่อน คนรัก ญาติพี่น้องรอบตัว ทยอยจากไปทีละคนสองคน สังคมที่มีจะมีขนาดเล็กลงเรื่อยๆ จะให้ปรับตัว เรียนรู้การเข้าสังคมใหม่ๆ ก็อึดอัดจนทำให้ไม่ชอบเขา้สังคม ไม่มีคนพูดคุยหรือคอยปรึกษา เก็บตัวมากข้ึน ปรับตัวยากข้ึน
การเปลี่ยนแปลงทางความคิด คิดซ้า ซากย้า คิดยำ้ทำกังวลระแวง หมกมุ่นในเรื่องของตัวเองและ เรื่องในอดีต คิดถึงปัจจุบันด้วยความหวาดกลัวกังวนการถูกทอดทิ้งถูกคนรังเกียจกลัวว่าคนอื่นคิดวา่ เป็นภาระอันตรายอาจมีความคิดอยากตายตอ้งการทำร้ายตวัเอง
การเสื่อมถอยทางร่างกายเช่น สูญเสียการได้ยิน การมองเห็น การรับรู้รส การสัมผัส ช่วยเหลือตัวเอง ได้น้อยลงเพราะแรงกำลังทางร่างกายที่ลดนอ้ยถอยลงความคล่องแคล่ววอ่งไว ทำอะไรชา้ลงหรือไม่ได้ดั้งใจจะทำให้หงุดหงิด น้อยใจ หมดความมั่นใจในตนเองซึมเศร้าไม่สบายใจไม่พอใจ พาล โกรธ โมโห เพราะรู้สึกว่าตัวเองเป็นภาระเป็นตัวถ่วง ต้องพึ่งพาคนรอบข้าง
พฤติกรรมเอาแต่ใจจูจี้ข้ีบ่น ไม่ได้จะกา้วก่ายเข้าไปจัดการชีวิตผู้อื่น ทำซ้า ๆ พูดย้ำๆ ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ เรียกร้องความสนใจ มีการใช้ภาษาที่เปลี่ยนแปลงไป
การเกษียณอายุจากการทำงาน บทบาทหน้าที่การงานของตนเองเปลี่ยนแปลงไปหรือหายไป ทำให้ผู้สูงอายรุ้สึูกไม่ได้รับการยกยอ่งเหมือนเดิม อาจรู้สึกคุณค่าในตนเองลดลงขาดความมั่นใจเกิดอารมณ์ฉุนเฉียว หงุดหงิดง่ายมากขึ้น เพราะไม่มีคนเคารพนบัถือให้ความสำคัญและเข้าหาอยา่งที่ผา่นมา
การเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคม
2คนส่วนใหญ่มักมองว่า ผู้สูงอายุมีสุขภาพไม่แข็งแรง มีสมรรถภาพและความสามารถลดน้อยลง จึงไม่ให้ความสำคัญหรือไม่ให้ความรับผิดชอบ
3 สูญเสียบทบาทจากการเคยเป็นผู้นำครอบครัวแต่ต้องกลายเป็นเพียงผู้อาศัยในสมาชิกของครอบครัวเท่าน้นั
1 ภาระหน้าที่และบทบาททางสังคม จะลดน้อยลง ทำให้ผู้สูงอายุถูกมองข้ามไปจากสังคม
วิธีการที่ผู้สูงอายุจะสร้างความสุขให้ตนเอง
การใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ด้วยการทำกิจกรรมต่างๆ ที่ชื่นชอบ เช่น การทำงานอดิเรกต่างๆ ที่เหมาะสมกับวัยและสภาพร่างกายของ ตนเอง เช่น การปลูกต้นไม้การทำดอกไม้ประดิษฐ์การเล้ียงสัตวเลี้ยงการเล่นดนตรีการฟังเพลงการสวดมนต์ การเขียนหนังสือ การอ่านหนังสือการเล่นเกมคอมพิวเตอร์ ฯลฯ การช่วยทำงานบ้านเล็กๆ น้อยๆ การทำกิจกรรม ต่างๆ ของสมาคมหรือชมรม
การใช้ชีวิตที่เรียบง่ายการดำเนินชีวิตประจำวันที่เรียบง่าย เป็นวิถีชีวิตที่จะพาไปสู่ความสุข ด้วยการทำตัวตามสบาย ไม่ผูกมัด ตนเองด้วยกฎเกณฑ์ต่างๆ มากมาย กินง่ายอยู่ง่ายดำรงชีวิตอยู่บนความพอเพียง ซึ่งไม่ได้หมายถึงการประหยัดจน อึดอัดหรือรัดตัวจนเกินไป
การดูแลสุขภาพกายและสุขภาพจิตการจะมีความสุขได้นั้นสุขภาพกายและสุขภาพจิตก็ตอ้งดีดว้ยผสูู้งอายุจึงจำเป็นตอ้งหมั่นไปตรวจ ร่างกายประจำปีอยา่งสม่า เสมอและรีบไปพบแพทยแ์ ต่เนิ่นๆ เมื่อเริ่มมีอาการที่บ่งชี้วา่ เจ็บป่วยระมัดระวังและ ป้องกนัไม่ให้ตนเองเจ็บป่วย หรือเกิดอุบตัิเหตุหมั่นคอยดูแลสุขอนามัยของตนเองโดยออกกำลังกายทุกวันหรือสัปดาห์ละ 3 คร้ังๆ ละประมาณ 20-30นาที
การสร้างอารมณ์ขัน อารมณ์ขันจะช่วยคลายความกดดันลง ทำให้ผู้สูงอายุที่เกิดอารมณ์ขันรู้สึกเป็นทุกข์น้อยลง เกิดความรู้สึก ที่ดีจิตใจเบิกบาน การสร้างอารมณ์ขนัจึงเป็นเรื่องที่ดีเพราะการที่ผสูู้งอายได้หัวเราะและยิ้มจากใจจริงๆ ในแต่ละคร้ังนั้นเป็นสิ่งที่บ่งบอกถึงความสุขที่เกิดข้ึนทำใหจ้ิตใจและอารมณ์ของผสูู้งอายุดีข้ึน
การปรับตัวของผู้สูงอายุพยายามเข้าไปมีส่วนร่วมในการท ากิจกรรมต่างๆ ของครอบครัว เพื่อนฝูง ชุมชนหรือสังคม มีความยืดหยุ่นในเรื่อง ต่างๆให้คิดอยู่เสมอว่า ทำอย่างไรจึงจะอยู่ร่วมกับครอบครัวและคนอื่นให้ได้อย่างดีที่สุดเท่าที่ทำได้ ทำอย่างไรที่จะ ให้มีความขัดแย้งกันน้อยที่สุด ตลอดจนพยายามช่วยตนเองในด้านต่างๆ ให้มากที่สุด และยอมรับความช่วยเหลือ