Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบหัวใจและหลอดเลือด, image, image, image, image, image, image, image,…
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
คำศัพท์ที่ควรทราบ
- Afterload = แรงต้านการบีบตัวของหัวใจห้องล่างซ้าย
- Aneurysm = การป่งพองของผนังหลอดเลือด
- Atherosclerosis = การแข็งตัวของหลอดเลือดแดง
- Congestion = การคั่งของน้ าหรือเลือดในส่วนต่าง ๆของร่างกาย
- Embolus = ลิ่มเลือด ฟองอากาศ
ไขมัน ที่ลอยอยู่ในหลอดเลือด
- Infarction = การตายของเนื้อเยื่อ
จากการขาดออกซิเจน
- Ischemia = การได้รับเลือดไป
เลี้ยงไม่เพียงพอ
- Orthopnea = เหนื่อยนอนราบไม่ได้
-
-
- Preload = แรงดันในหัวใจห้องล่างซ้าย เมื่อหัวใจ
-
- Stenosis = การตีบแคบของส่วนที่เป็นท่อ หรือรู
- Varicose = การพองตัวและคดงอ
-
-
ภาวะหัวใจล้มเหลว
ภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน (acute heart failure) เป็นภาวะหัวใจล้มเหลวที่มีอาการเกิดขึ้นใหม่อย่างรวดเร็วหรือมีภาวะหัวใจล้มเหลวที่มีอาการคงที่แต่กลับแย่ลงในเวลาไม่นาน
ภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง ( chronic heart failure) พบได้ในผู้ป่วยที่เคยได้รับการวินิจฉัยว่ามีภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันมาก่อนหรือไม่ก็ได้ แต่ในขณะที่ทำการวินิจฉัยผู้ป่วยมีอาการของภาวะหัวใจล้มเหลวและ/หรือมีการทำงานที่ผิดปกติไปของหัวใจคงอยู่เป็นเวลานาน
-
การรักษา
การรักษาด้วยยา เช่น ยาขับปัสสาวะ ยาลดความดันโลหิต ยาเพิ่มการบีบตัวของหัวใจ ยากลุ่มลดการกระตุ้นระบบนิวโรฮอร์โมน ยาขยายหลอดเลือด ยาต้านเกล็ดเลือด ยาต้านภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
การใช้เครื่องกระตุกหัวใจอัตโนมัติชนิดฝังในร่างกาย การใช้เครื่องกระตุ้นหัวใจถาวรชนิดที่ทำให้หัวใจห้องล่างซ้ายและขวาบีบตัวพร้อมกัน ร่วมหรือไม่ร่วมกับเครื่องกระตุกหัวใจอัตโนมัติชนิดฝังในร่างกาย
-
พยาธิสรีรภาพ
-
(2) Sympathetic nervous system มี overactivity เพิ่มการหลั่งของสาร adrenaline และ Noreadrenaline
มากกว่าปกติ
(3) Renin angiotensin system ปัจจัยนี้ได้มีผู้พยายามศึกษาระดับเรนินในพลาสม่า ผู้ป่วยที่มีความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ
-
-
ชนิดของความดันโลหิตสูง
- Primary hypertension หรือ Essential hypertension
เป็นความความดันโลหิตสูงชนิด
ไม่ทราบสาเหตุ ซึ่งพบเป็นส่วนใหญ่ของผู้ป่วยที่เป็นความดันโลหิตสูง (ประมาณร้อยละ 90)
-
ลิ้นหัวใจพิการ
สาเหตุ
- hypertrophy ของ venticle ข้างซ้ายหรือข้างขวา ทำให้การทำงานของหัวใจผิดปกติและมีอาการ หัวใจล้มเหลว
- dilatation of venticle ของช่องหัวใจ ทำให้เกิดภาวะหัวใจล้มเหลว
- การอุดกั้นของเลือดจากหัวใจห้องบนลงห้องล่าง ทำให้เกิดการคั่งของเลือดในอวัยวะต่าง ๆ
- การลดลงของปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจ
การรักาษา
การรักษาภาวะลิ้นหัวใจพิการอาจทำได้โดยการใช้ยา การขยายโดยใช้บอลลูน การผ่าตัดซ่อมแซมลิ้นหัวใจ หรือการผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจ
ระบบไฟฟ้าหัวใจ
-
แนวทางการรักษา
การใส่สายตรวจสวนหัวใจเข้าไปตรวจเช็ควงจรไฟฟ้าที่ผิดปกติที่หัวใจ และก็ทำการรักษาโดยการใช้คลื่นความถี่วิทยุจี้บริเวณวงจรไฟฟ้าที่ผิดปกติ
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-