Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินสภาพเเละการพยาบาลทารกเเรกเกิดที่มีภาวะขาดออกซิเจน - Coggle…
การประเมินสภาพเเละการพยาบาลทารกเเรกเกิดที่มีภาวะขาดออกซิเจน
ความหมาย
ภาวะที่ทารกคลอดออกมาแล้วไม่หายใจ
ต้องการการช่วยเหลือกู้ชีพ มีภาวะเลือดขาดออกซิเจน (hypoxemia) คาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดสูง (hypercapnea)
ภาวะเลือดเป็นกรด (acidosis) อาจเกิดได้กับทารกในครรภ์ ขณะคลอดและภายหลังคลอด ต่อเนื่องในหลายระยะ
สาเหตุภาวะขาดออกซิเจนแรกคลอด
ปัจจัยเกี่ยวกับการคลอด
ศีรษะทารกไม่ได้สัดสวนกับเชิงกรานมารดา
คลอดติดไหล่
ความผิดปกตของสายสะดือ
ครรภ์แฝด
ทารกท่าผิดปกติ
การคลอดที่ทํายากลําบาก
ปัจจัยเกี่ยวกับการคลอด
ตกเลือด
อายุมาก
เบาหวาน
รกเกาะต่ำ
รกลอกตัวก่อนกำหนด
ภาวะพิษเเห่งครรภ์
ปัจจัยเกี่ยวกับทารก
ทารกที่เกิดก่อนกาหนด
ทารกเจริญช้าในครรภ์
ภาวะติดเชื้อในครรภ์
ความพิการโดยกําเนิด
อาการเเละการเเสดง
แรกคลอดทารกเขียว ไม่หายใจ กล้ามเนื้ออ่อนแรง หัวใจเต้นช้า รีเฟล็กซลดลง
ค่าคะเนน Apgar ที่ 1 และ 5 นาทีหลังคลอดน้อยกว่า5 หรือต้องช่วยหายใจนานเกิน 2-3 นาที ถือว่ามีภาวะขาดออกซิเจนระหว่างคลอด
ผลของการขาดออกซิเจนแรกคลอด
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ศูนย์ควบคุมการทํางานของหัวใจถูกกดเป็นผลให้หวใจเต้นช้าลง
ทําใหกล้ามมเนื้อหวใจทำงาน ํ
ประสิทธิภาพลดลง
ความดันโลหิตต่ํา เกิดภาวะช็อกจากหัวใจ
ระบบหายใจ
ศูนยหายใจถูกกด ทําใหหายใจช้า หรือหยุดหายใจ
เนื้อเยื่อปอดขาดออกซิเจนทำให้หายใจลำบาก
การรั่วของซรีัมจากหลอดเลือดปอด ทำให้ปอดคั่งน้ำ
ระบบประสาทกลาง
โรคสมองขาดออกซิเจนและเลือดไปเลี้ยง
เลือดออกในสมอง
ภาวะชัก จากคอร์เท็กซ์ของสมองถูกทําลาย
ภาวะสมองบวม
ระบบการขับถ่าย
ไตจะไวต่อภาวะขาดออกซิเจน
ทาให้หลอดฝอย
ของไต ทำให้ปัสสาวะลดน้อยลง
ระบบทางเดินอาหาร
เลือดไปเลี้ยงระบบทางเดินอาหารลดลง
ทําให้เกิด
ภาวะลําไส้เน่าเปื่อย
การประเมินสภาพ
1.ประวัติ
ประวัติการตั้งครรภ์
การตั้งครรภ์เกินกำหนด
ทารกเจริญเติบตช้าในครรภ์
ประวัติการลดลงของออกซิเจนในมารดา
ภาวะหายใจช้เเละเบา
ภาวะพร่องออกซิเจน
ประวัติการลดลงของการไหลเวียนเลือดของมารดา
มารดามีความดันสูง
ความดันต่ำ
มดลูกหดรัดตัวรุนเเรงตลอดเวลา
ประวัติการได้รับยาระงับปวด
Morphine
pethidine
2.อาการเเละอาการเเสดง
ระยะเเรกคลอด
คะเเนนapgar น้อยกว่า7คะเเนน
ทารกเขียวเเรกคลอด ไม่หายใจเอง ตัวนิ่ม อ่อนปวกเปียก หัวใจเต้นช้า การตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นลดลง
หลังคลอดด่อมา
ปอด
หายใจหอบ เขียว เกิดpersistent fetal circulation
การไหลเวียนเลือด
หัวใจเต้นเร็ว ซีด หายใจเเบบ gasping มีmetabolic acidosis
ประสาท
ซึม
หยุดหายใจบ่อย
หัวใจเต้นช้า ม่านตาขยายกว้าง
3.ผลทางห้องปฎิบัติการ
ค่า Arterial blood gas ผิดปกติ
ระดับน้ำตาลในเลือดตต่ำกว่า 30มิลลิกรัมเปร์เซ็นต์
ค่าของ CA ในเลือดต่ำกว่า 8 มิลลิกรัมเปร์เซ็นต์
ค่าPotassium ในเลือดสูง
การรักษาเเละการช่วยเหลือ
No Asphyxia (8-9คะเเนน)
ช่วยตามเเนวทางพื้นฐานเเต่ประเมิน Apgar score ที่5นาทีต่อไป
Mild Asphyxia (6-7คะเเนน)
กระตุ้นการหายใจ โดยการให้ออกซิเจนผ่านmask
Moderate Asphyxia (4-5คะเเนน)
ให้ออกซิเจน Mask with bag radiant warmer หากหัวใจเต้นช้ากว่า 60ครั้งต่อนาที ใส่ ET-Tube เเละทำการนวดหัวใจพร้อมกัน
Severe Asphyxia (0-3คะเเนน)
ใส่ ET-Tube เเละให้ Bag ออกซิเจน 100% พร้อมกับนวดหัวใจ ภายใน1นาทีหากหัวใจหยุดเต้น หรือHRน้อยกว่า 100 ครั้งต่อนาทีหลังการนวดหัวใจ เเละให้การช่วยเหลือการหายใจด้วยออกซิเจน 100%เป็นเวลา 2 นาทีเเล้ว ทารกควรใส่ Umbilical Venous Catheter เพื่อเป็นทางให้โซเดียมคาร์บอเนต สารน้ำ เเละยาที่จำเป็น
การพยาบาล
1.การสังเกตอาการต่าง ๆ อย่างใกล้ชิดและต่อเนื่อง ถ้ามีการสังเกตโดยใชเครื่องติดตาม
สัญญาณชีพตลอดเวลา
2.ให้ความอบอุ่นและควบคุมทารกให้มีอุณหภูมิปกติ
3.ให้ออกซิเจนที่เหมาะสม
4.งดอาหารทางปากชั่วคราว ใหhสารน้ําและอาหารทางหลอดเลือด
5.ถ้าความเข้มข้นของเลือดต่ําหรอเสียเลือด การให้เลือดจะชวยได้ดีมากกว่าการใหออกซเจนแต่
เพียงอย่างเดียว
6.พิจารณาให้ยาปฏิชีวนะในกรณีที่มีหัตถการต่างๆ มากและนาน
7.หลังจาก 12 ชั่วโมง ให้ระวังอาการชักไว้ ควรจะให้ค่าอิเล็กโทรไลต์ แคลเซียม ความดันของ
ก๊าซในเลือด อยู่ในเกณฑ์ปกติ ถ้ามีอาการชักต้องรีบรักษาทันที