Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบทางเดินหายใจ (Drugs used in respiratory system) -…
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบทางเดินหายใจ
(Drugs used in respiratory system)
ยารักษาโรคหืด
(antiasthmatic drugs)
ยาบรรเทาอาการ (reliever)
เป้าหมาย
ลดอาการหดเกร็งของ
หลอดลมจากสาเหตุต่างๆ
ยาที่ใช้
ยาขยายหลอดลม
(Bronchodilators)
Salmeterol
การออกฤทธิ์
: กระตุ้น β2-receptors มีฤทธิ์ยาว
ผลข้างเคียง
: ปวดศีรษะ ไอ มือสั่น เวียนศีรษะ คอแห้ง
ระคายคอ อาจพบใจสั่น หัวใจเต้นเร็ว แสบยอดอก ท้องเสีย
Terbutaline
การออกฤทธิ์
: กระตุ้น β2-receptors ทําให้กล้ามเนื้อเรียบ
ของหลอดลม และกล้ามเนื้อมดลูกคลายตัว
ผลข้างเคียง
: ชีพจรเต้นเร็ว หัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ
Salbutamol
การออกฤทธิ์
: กระตุ้น β2-receptors ออกฤทธิ์สั้น
ผลข้างเคียง
: มือสั่น ปวดศีรษะ หัวใจเต้นเร็ว ตะคริวที่กล้ามเนื้ออาจเกิดภาวะโปตัสเซี่ยมในเลือดต่ำแบบรุนแรง อาการไม่อยู่นิ่งในเด็ก การระคายในปากและคอ
Fenoterol
การออกฤทธิ์
: กระตุ้น β2-receptors
ผลข้างเคียง
: กระสับกระส่าย มึนงงเนื่อยล้า หัวใจเต้นเร็ว แสบอก
กล้ามเนื้อเป็นตะคริว ยาอาจทําให้ปากแห้ง ควรบ้วนปากทุกครั้งหลังใช้ยา
Bambuterol
ผลข้างเคียง
: อาจเพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจ มือสั่น ปวดศีรษะ กล้ามเนื้อเกร็ง
ข้อควรระวัง
: ผู้ป่วยโรคหืดที่มีโรคหัวใจและหลอดเลือด
ภาวะไทรอยด์ฮอร์โมนในเลือดสูง โรคเบาหวาน
การออกฤทธิ์
: กระตุ้น β2-receptors มีฤทธิ์ยาว
Methylxanthines
ยา
: theophylline, aminophylline
ฤทธิ์ต่อหลอดลม ระบบประสาทส่วนกลาง หัวใจและหลอดเลือด ไต ทางเดินอาหาร
กลไกการออกฤทธิ์
: ยับยัhงเอนไซม์ phosphodiesterase
→ เพิ่ม cAMP→ หลอดลมขยายตัว
Adrenaline (epinephrine)
การออกฤทธิ์
: กระตุ้น α-receptors และ β-receptors
ข้อบ่งใช้
: รักษาภาวะหดเกร็งของหลอดลม การแพ้ชนิด
anaphylaxis
ผลข้างเคียง
: ความดันโลหิตสูง ชีพจรเต้นเร็ว หัวใจเต้นไม่
เป็นจังหวะ ใจสั่น ปวดศีรษะ
Anticholinergic drugs
ยา
: ipratropium
การออกฤทธิ์
: ยับยั้ง acetylcholine จับกับ muscarinic receptors ที่หลอดลม
ลดการเกร็งของหลอดลม
Sympathomimetics agents
เป้าหมาย
: กระตุ้น β2 receptors
อาการไม่พึงประสงค์ ส่วนใหญ่เกิดจากการกระตุ้นที่ไม่เฉพาะต่อ β2 receptors และกระตุ้นส่วนอื่นที่ไม่ใช่กล้ามเนื้อเรียบของหลอดลม
Procaterol
การออกฤทธิ์
: กระตุ้น β2-receptors ที่มีฤทธิ์ยาว
ผลข้างเคียง
: อาจเพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจ มือสั่น ปวดศีรษะ กล้ามเนื้อเกร็ง
ยาที่ใช้
ยาต้านการอักเสบ
(Anti-inflammatory drugs)
ยากลุ่มยับยั้ง leukotrienes
(leukotriene pathway inhibitors)
ยับยั้งการทํางานของ leukotrienes ซึ่งเป็น
สารหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการอักเสบ
montelukast : ยับยั้งไม่ให้ leukotrienes
จับกับตัวรับ (leukotriene receptor antagonist)
ยากลุ่มป้องกันการแตกของ mast cells
(mast cell stabilizers)
กลไกการออกฤทธิ์
: ป้องกันการแตกของ mast cells → ยับยั้งการหลั่ง histamines, leukotriene และสารอื่นที่มีฤทธิ์ทําให้หลอดลมหดตัว
ผลข้างเคียง
: ไอ จาม ระคายคอ เสียงแหบ
หลอดลมหดเกร็ง คลื่นไส้ อาเจียน เวียนศีรษะ
ยา
: cromolyn sodium, cromoglicic acid,
disodium cromoglycate
ยากลุ่มเสตียรอยด์ (glucocorticoids)
ลดความไวของหลอดลมต่อตัวกระตุ้นที่ทําให้เกิดอาการ
อาการไม่พึงประสงค์ที่พบบ่อยในรูปแบบยาพ่น
กลไกการออกฤทธิ์
: ยับยั้งกระบวนการอักเสบในร่างกาย
การออกฤทธิ์
: ลดการอักเสบ
ข้อควรระวัง
สังเกตอาการติดเชื้อ เช่น มีไข ้ มีฝ้าขาวในปาก
หมั่นบ้วนปากบ่อยๆ หลังให้ยา อย่ากลืนน้ำหลังจากกลั้วคอ
ผลข้างเคียง
: ผื่นคัน ผิวหนังอักเสบเจ็บคอ เลือดออกในจมูก
แสบจมูก ปากแห้ง เสียงแหบ ติดเชื้อรา
ยาระงับอาการไอ
antitussive drugs
กลไกการไอ
(cough reflex)
สิ่งกระตุ้นให้เกิดการไอ
(cough stimulus)
ตัวกระตุ้นต่างๆ เช่น สารเคมี ควันบุหรี่ ฝุ่น มลพิษทาง อากาศ สารก่ออาการระคายเคือง อากาศเย็น อาหารที่ระคายคอ
ประเภทของการไอ
ไอแห้ง / ไอแบบไม่มีเสมหะ
เกิดจากการระคายเคืองในทางเดินหายใจ
ยาระงับอาการไอ (antitussive)
ไอแบบมีเสมหะ
เกิดจากมีเสมหะ เมือกเหนียวข้นไประคายเคือง อุดกลั้น
บริเวณทางเดินหายใจ
ยาละลายเสมหะ (mucolytics)
ยาขับเสมหะ(expectorants)
แบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม
ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง
: กดศูนย์การไอในสมอง
ยาระงับอาการไอที่ทําให้เกิดการเสพติด
(narcotic antitussives)
Codeine
ยาระงับอาการไอที่ไม่ทําให้เกิดการเสพติด
(non-narcotic antitussives)
Dextromethorphan
Diphenhydramine
ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนปลาย
ยาขับเสมหะ
expectorants
เสมหะ (phlegm / sputum)
: เยื่อเมือกที่ประกอบด้วย
น้ำและกลัยโคโปรตีนที่เชื่อมต่อกันด้วยพันธะไดซัลไฟด์เป็นสายยาว มีลักษณะเหนียว ข้น
ยาขับเสมหะ
: สารที่กระตุ้นการเคลื่อนที่ขับออกของเสมหะ ทําให้เสมหะมีความเหนียวน้อยลง ถูกขจัดออกจากทางเดินหายใจโดยการพัดโบกของ cilia ได้
เพิ่มการหลั่งของของเหลวในทางเดินหายใจ (respiratory tract fluid) ใช้สําหรับการไอแบบมีเสมหะ
ยาที่ใช้
Ammonium chloride
Guaifenesin (glyceryl guaiacolate)
ยาละลายเสมหะ
mucolytics
ยาละลายเสมหะ
: สารที่ไปเปลี่ยนแปลงโครงสร้างหรือ
ส่วนประกอบของเสมหะ ทําให้มีความเหนียวลดลง กำจัดออกง่าย
ข้อบ่งใช้
: การไอแบบมีเสมหะ
ยาที่ใช้
Acetylcysteine
Carbocysteine
Bromhexine
Ambroxal
ยาแก้แพ้และยาต้านฮีสตามีน
(anti-allergic drugs & antihistamines)
ยาต้านฮีสตามีน
(antihistamineas)
ยาต้านฮีสตามีนแบ่งเป็นหลายประเภท ในที่นี้จะกล่าวถึง
เฉพาะ กลุ่มยาต้านการทํางานของฮีสตามีน โดยไปยับยั้ง
การทํางานของฮีสตามีนต่อตัวรับต่อตัวรับ Histamine-1
(H1 receptors)
ระวังการใช้ในผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด โดยเฉพาะ
ผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจเต้นผิดปกติ เนื่องจากยาบางตัวในกลุ่มนี้ถูกถอนการขึ้นทะเบียนเพราะทําให้หัวใจเต้นผิดปกติ
ข้อบ่งชี้
ลดน้ำมูก
ลดอาการแพ้ที่เกิดจากสารฮีสตามีน เช่น คัน ผื่นแดง บวม
ประเภทของ antihistamine H1 receptors
กลุ่มที่มีฤทธิ์ทําให้ง่วงนอน
ยาที่ใช้
แก ้คลื่นไส้ อาเจียน เมารถ : dimenhydrinate
เพิ่มความอยากอาหาร : cyproheptadine
แก้ผื่น คัน ลมพิษ: hydroxyzine
ลดน้ำมูก : chorpheniramine (CPM), brompheniramine
แก้ไอ : diphenhydramine
คลายเครียด ช่วยในการนอนหลับ : hydroxyzine, diphenhydramine
กลุ่มที่ไม่มีฤทธิ์ทําให้ง่วงนอน
ตัวอย่างยา
fexofenadine
desloratadine
loratadine
levocetirizine
cetirizine
ยาลดอาการคัดจมูก
(Nasal decongestants)
อาการคัดจมูก
(nose block,
nasal congestion)
อาการหายใจทางจมูกลําบาก ผู้ป่วยต้องออกแรงมากขึ้น
เพื่อลากอากาศผ่านรูจมูก หรือหายใจทางปากแทน
เกิดจากการที่เนื้อเยื่อในรูจมูกบวมจนอุดรูปจมูกไว้จากสาเหตุใดก็
ตามที่ทําให้เกิดความระคายเคืองหรืออักเสบที่เนื้อเยื่อในจมูก เช่น
การติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน ภูมิแพ้ เยื่อจมูกอักเสบเรื้อรัง
เนื้อเยื่อในรูจมูกบวม เนื่องจากการขยายตัวของหลอด
เลือดภายในโพรงจมูก และมักมีน้ำมูกร่วมด้วย
การรักษา
ลดน้ำมูก (ถ้ามีน้ำมูกร่วมด้วย)
ยาที่ใช้
กลุ่มยาต้านฮีสตามีน
Histamine 1 receptors
ลดอาการคัดจมูก
ยาที่ใช้
Sympathomimetic drugs
Phenylephephrine
Pseudoephedrine
Naphazoline
เสตียรอยด์
Fluticasone
Beclomethasone
Budesonide
Triamcinolone