Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สถิติเชิงอ้างอิง( inferential statistics), สถิติใช้ในงานวิจัย,…
สถิติเชิงอ้างอิง( inferential statistics)
Parametric statistics
Anova
-กลุ่มตัวอย่างทุกกลุ่มเป็นอิสระต่อกัน
-กลุ่มตัวอย่างจากประชากรมีการแจกแจงแบบปกติ
-กลุ่มตัวอย่างมีความแปรปรวนเท่านั้น
ข้อตกลงเบื้องต้น
-กลุ่มตัวอย่างมีขนาดใหญ่
-มีการแจแจงเป็นโค้งปกติ
-กลุ่มตัวอย่างประชากร
-การสุ่มตัวอย่างโดยใช้ความน่าจะเป็น(probability sampling)
-ระดับการจัดตัวแปรในช่วงมาตราและอัตราส่วนมาตรา
T-test ข้อมูล 2 กลุ่ม
-การกระจายปกติ
-ความแปรปรวนของประชากรเท่ากัน
-พิจารณาเปรียบเทียบจากค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
Independent samples
ข้อมูลถูกเก็บมาจาก 2 กลุ่มตัวอย่างที่แตกต่างกัน
dependent samples
paired t-test
-กลุ่มตัวอย่างคนเดียวกัน
-ก่อนและหลัว
ทดสอบความสัมพันธ์
Pearson's correlation
Chi-squared test 2 ตัวแปรที่ข้อมูลเปนกลุ่ม
Categorical variables
Pearson's correlation 2 ตัวแปรที่ข้อมูลเปนมาตรา
Scale variables
Simple Linear Regression ทํานายค่าของตัวแปรตามมาจากค่าของตัวแปรต้น
Scale กับ Scale/binary
Logistic regression
ทํานายค่าของตัวแปรตามมาจากค่าของตัวแปรต้น Binary กับ Scale/binary
Multiple Linear Regression
ใช้เมื่อมีตัวแปรต้นจํานวนหลายตัว
Nonparametric statistics
ข้อตกลงเบื้องต้น
-ข้อมูลอยู่ในระดับการ nominal หรือ ordinal
-กระจายข้อมูลไม่จำเป็นต้องกระจายเป็นโค้งปกติ
-กลุ่มตัวอย่างขนาดเล็ก
-ค่าความแปรปรวนของกลุ่มประชากรไม่จำเป็นต้องเท่ากันหรือไม่
chi-square test
-two-group median test : independent
เปรียบเทียบ nedian ของ 2กลุ่ม ที่เป็นอิสระต่อกัน (ordinal กับ ordiral)
- two-group median test dependent
กลุ่มตัวอย่างไม่เป็นอิสระต่อกัน ไม่สามารถใช้สถิติไคสแควร์ได้
Mann-whitney u test
-เปรียบเทียบความแตกต่างของ 2 ข้อมูล
ที่เป็นกลุ่มอิสระต่อกันที่จัดในระดับ
(ordinal scale)
-กลุ่มตัวอย่างขนาดเล็ก
-กระจายตัวไม่ปกติ
wilcoxon signed-rank test
-กลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่ไม่เป็นอิสระต่อกัน
หาความแตกต่างของข้อมูลแต่ละคู่
-กำหนดเครื่องหมาย +/- ให้ข้อมูลแต่ละคู่ขึ้นกับค่า x มากกว่าหรือน้อยกว่าy
Spearman ramk correlation (rs)
-ความสัมพันธ์ของ 2 ตัวแปรต่อเนื่องในตัวแปรที่ไม่ได้มีการแจกแจงปกติ
ไม่สามารถใช้สหสัมพันธ์เพียรส์ สันได้ เปลี่ยนค่าข้อมูลเป็นค่าลําดับ แล้วนําลําดับที่มาหาความสัมพันธ์แทน
Kruskal-wallis test
ใช้ทดสอบ ตั้งแต่ 3 กลุ่มขึ้นไปที่เป็นอิสระต่อกัน
Friedman test
เ
ป็นข้อมูล Ordinal Scale ตั้งแต่ 2 กลุ่มขึ้นไปที่ไม่เป็นอิสระต่อกัน
สถิติใช้ในงานวิจัย
สถิติพรรณา (Descriptive statistics)
สถิติพรรณนาที่ใช้อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างงข้อมูลเชิงปริมาณ
– สัมประสิทธ์สหสัมพันธ์เชิงเส้นของเพียร์สัน (Pearson’sCorrelation Coefficient)
– สัมประสิทธ์สหสัมพันธ์ของสเปียร์แมน (Spearman’s correlation coefficient)
ใช้เพื่ออธิบายข้อมูล ลักษณะของกลุ่มตัวอย่าง และสังเคราะห์ข้อมูล เช่น ค่าเฉลี่ย ร้อยละ
ถ้าวิเคราะห์จากประชากร เรียกกว่าParameter ถ้าวิเคราะห์จากกลุ่มตัวอย่าง เรียกว่าStatistic
สถิติพรรณนาที่ใช้อธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง ข้อมูลเชิงคุณภาพ
– สัมประสิทธิสหสัมพันธ์ของเครเมอร์วี(Cramer’s V)
– สร้างตารางไขว้แสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร (crosstabulation table)
นางสาวปภาวรินทร์ ประวงศ์อานุภาพ รหัสนักศึกษา 62110083