Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่7ระบบประสาทระยะวิฤติ - Coggle Diagram
บทที่7ระบบประสาทระยะวิฤติ
การประเมินผู้บาดเจ็บกระดูกสันหลังและไขสันหลังส่วนคอ
การตรวจกระดูกสันหลัง (Spinal examination)
การตรวจทางระบบประสาท (neurological
examination)การประเมินก าลังกล้ามเนื้อ (motor evaluation)การประเมินรับความรู้สึก (sensory evaluation)2.3 การประเมินปฏิกิริยาตอบสนอง ได้แก่การตรวจ deep tendon reflex,
Bulbocavernosus และ anocutaneous reflex เป็นต้น
การบาดเจ็บไขสันหลัง
Spinal cord injury
Spinal shock
การบาดเจ็บไขสันหลังโดยสมบูรณ์ (Complete cord)
การบาดเจ็บไขสันหลังบางส่วน (Incomplete cord)
การบาดเจ็บไขสันหลัง
การประเมินการหายใจ จะสังเกตอัตราการหายใจ จังหวะ และความลึก หากพบความผิดปกติ
การหายใจแบบ Cheyne-Stoke respiration
การหายใจแบบ Central neurogenic hyperventilation
Apneutic Breathing
Biot’s or Artaxic Breathing
Cluster Breathing
การประเมินสภาพผู้ป่วยที่มีปัญหา
ระบบประสาทและไขสันหลังระยะวิกฤต
การประเมินอาการทางระบบประสาท
การซักประวัติ
ประวัติที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงของกระบวนการคิดรู้-ประวัติเกี่ยวกับอาการผิดปกติที่พบบ่อย เช่น
อาการของการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อ
อาการชัก อาการซึมลงอาการปวดศีรษะ ตามัว อาเจียนซึ่งในการซักถามนี้ ควรครอบคลุมถึงความถี่ ช่วงเวลาในการ
เกิดอาการต่าง ๆ ปัจจัยส่งเสริม และการจัดการกับอาการต่าง ๆ
ประวัติเกี่ยวกับพฤติกรรม และบุคลิกภาพที่เปลี่ยนแปลงไป
เช่น อาการหลงลืม สติปัญญา
ประวัติเกี่ยวกับการเจ็บป่วยอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับระบบประสาท
ซึ่งมีผลต่อกระบวนการคิด และระดับความรู้สึก ทั้งทางตรงและทางอ้อม เช่น โรคเนื้องอกในสมอง
ประวัติเกี่ยวกับแบบแผนการด าเนินชีวิต พฤติกรรมบางอย่าง
ส่งผลต่อภาวะความเจ็บป่วยได้ เช่น การใช้สารเสพติด
การประเมินเกี่ยวกับการรู้สติระดับความรู้สึกตัว
(Level of Consiousness)
(Cranial nerve function)
Olfactory nerve
Optic nerve
Oculomotor nerve
Trochlear nerve ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อ
Trigeminal nerve
Abducens nerve
Facial nerve
Glossopharyngeal nerve
Vagus nerve
Accessory nerve
Hypoglossal nerve
2.4 การประเมินการเคลื่อนไหวและก าลังของแขนขา
ประเมินความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ (Motor power)
การตรวจการท างานของการรับความรู้สึก ( Sensory Function)
เป็นการตรวจการรับความรู้สึกสัมผัส เจ็บปวด อุณหภูมิ การตรวจรีเฟล็กซ์ (Reflex function) ประเมิน deep tendon reflexes
โดยใช้ไม้เคาะ reflexes ที่ตรวจได้จะแบ่งเป็น 4 เกรด
การตรวจอาการของการระคายเยื่อหุ้มสมอง (Signs of
meningeal irritation)
การประเมินทางระบบประสาท
การประเมินสภาพผู้ป่วยทางระบบประสาท จะต้องประเมินจากหลายด้านรวมกัน ได้แก่
การวัดระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วย (coma scale)
การวัดสัญญาณชีพ (vital signs)
การวัดส่วนที่มีพยาธิสภาพของสมอง (focal neurological signs)
การตรวจพิเศษทางห้องปฏิบัติการเพื่อการวินิจฉัย
(Neurodiagnostic Studies)
Glasgow Coma Scale : GCS
1.1 การลืมตา (eye opening) : E
1.2 การสื่อภาษาที่ดีที่สุด (best verbal response) : V
1.3 การเคลื่อนไหวที่ดีที่สุด (best motor response) : M
Glasgow Coma Scale : EYE
ก. ลืมตาได้เอง (Spontaneous opening) ในรายที่ผู้ป่วยลืมตาได้เอง
ให้4 คะแนน
ข. ลืมตาเมื่อเรียก (To speech) ให้3 คะแนน
ค. ลืมตาเมื่อเจ็บ (To pain) ให้2 คะแนน
ง. ไม่ลืมตาเลย (None) ให้ 1 คะแนน
Glasgow Coma Scale : VERBAL
1.2. ความสามารถในการสื่อภาษาที่ดีที่สุด (Best verbal response = V)
ก. พูดคุยได้ไม่สับสน (Oriented) ให้5 คะแนน
ข. พูดคุยได้แต่สับสน (Confused) ให้ 4 คะแนน
ค. พูดเป็นค าๆ (Inappropriate words) ให้3 คะแนน
ง. ส่งเสียงไม่เป็นค าพูด (Incomprehensible sounds) ให้ 2 คะแนน
จ. ไม่ออกเสียงเลย(None) ให้ 1 คะแนน
Glasgow Coma Scale : GCS
ค่าคะแนนรวมทั้ง 3 ด้าน มีระดับคะแนนตั้งแต่ 3-15 คะแนน ซึ่ง
สามารถจ าแนกระดับความรุนแรงของการบาดเจ็บ (severity of
head injury) ออกเป็น 3 ระดับ คือ (สมาคมประสาทศัลยศาสตร์
แห่งประเทศไทย, 2540)
การลืมตา (eye opening)
ลืมตาได้เอง 4 คะแนน
ลืมตาเมื่อเรียก 3 คะแนน
ลืมตาเมื่อรู้สึกเจ็บปวด 2 คะแนน
ไม่ลืมตาเลย 1 คะแนน
การตอบสนองต่อการเรียกหรือการพูด
(Best verbal response)
พูดคุยได้ไม่สับสน 5 คะแนน
พูดคุยได้แต่สับสน 4 คะแนน
พูดเป็นค าๆ 3 คะแนน
ส่งเสียงไม่เป็นค าพูด 2 คะแนน
ไม่ออกเสียงเลย 1 คะแนน
การเคลื่อนไหวที่ดีที่สุด (Best motor response)
ท าตามค าสั่งได้ 6 คะแนน
ทราบต าแหน่งที่เจ็บ 5 คะแนน
ชักแขน ขาหนีเมื่อเจ็บ 4 คะแนน
แขนงอผิดปกติ 3 คะแนน
แขนเหยียดผิดปกติ 2 คะแนน
ไม่เคลื่อนไหวเลย 1 คะแนน
เนื้อหาประกอบด้วย
7.1 การประเมินสภาพผู้ป่วยที่มีปัญหาของระบบประสาทและไขสันหลังระยะวิกฤต
7.2 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาของระบบประสาทและไขสันหลังระยะวิกฤต
Head injury /cerebral contusion/concussion/ hemorrhage
Spinal cord injury
IICP
Stroke
MG
GB
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
อธิบายพยาธิสภาพของการเกิดโรค ในผู้ป่วยที่มีปัญหาของระบบประสาทและไขสันหลังระยะวิกฤต
อธิบายขั้นตอนการประเมินอาการทางระบบประสาทและไขสันหลังระยะวิกฤตได้
บอกอาการและอาการแสดงของผู้ป่วยที่มีปัญหาของระบบประสาทและไขสันหลังระยะวิกฤต
บอกการรักษาผู้ป่วยที่มีปัญหาของระบบประสาทและไขสันหลังระยะวิกฤต
บอกการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาของระบบประสาทและไขสันหลังระยะวิกฤต
การวัดส่วนที่มีพยาธิสภาพของสมอง (focal neurological
signs)
ลักษณะของรูม่านตา (pupils) ตรวจดูลักษณะ
รูปร่างของรูม่านตา ว่ากลมเท่ากันทั้งสองข้างหรือไม่เท่ากัน
จากนั้นตรวจดูขนาด และปฏิกิริยาตอบสนองของรูม่านตาต่อแสง
โดยใช้ไฟฉายโดยบันทึกเส้นผ่าศูนย์กลางของรูม่านตาแต่ละข้างเป็น
มิลลิเมตร (mm.)
ตรวจลักษณะของรูม่านตา (pupils)
หากรูม่านตา ไม่มีปฏิกิริยาต่อแสงคือมีขนาดเท่าเดิมไม่หดเล็กลง
(non-react to light ) ให้บันทึก N หรือใส่เครื่องหมาย
หากเปลี่ยนขนาดช้ากว่าปกติให้ บันทึกว่า “ S ”
(sluggish) or + - (Slightly reaction to light ) ลงไป
หากสามารถประเมินว่ามีการเปลี่ยนแปลงขนาดได้ง่ายอย่าง
รวดเร็ว บันทึกว่า R (reacting to light) หรือ +
ตรวจลักษณะของรูม่านตา (pupils)
• หากพบว่ารูม่านตาไม่มีปฏิกิริยาต่อแสง และมีขนาดเท่าหัวเข็ม
หมุด (pinpoint) เป็นไปได้ว่ามีรอยโรคที่พอนด์(pontine
herniation)
• หากพบว่ารูม่านตาขยายและไม่มีปฏิกิริยาต่อแสงข้างใดข้างหนึ่ง
แสดงว่า เส้นประสาทสมองคู่ที่ 3 เริ่มถูกท าลาย
• หากรูม่านตาไม่มีปฏิกิริยาต่อแสงและขยายทั้งสองข้างแสดงว่า
เส้นประสาทสมองคู่ที่ 3 ถูกท าลายอย่างสมบูรณ์
นอกจากนี้ยังพบว่าอาจมีอาการหนังตาตก (Ptosis) ซึ่งแสดงว่า
เส้นประสาทสมองคู่ที่ 3 ถูกท าลายได้เช่นกัน
Oculocephalic Reflex (Doll’s eyes sign)
นอกจากนี้ในผู้ป่วยที่ไม่รู้สติ มักนิยมตรวจ Oculocephalic
Reflex (Doll’s eyes sign) ร่วมด้วย ทั้งนี้จะมีการ
เปลี่ยนแปลง reflex ของการเคลื่อนไหวของลูกตาทดสอบโดย
หมุนศีรษะไปอย่างรวดเร็ว ซึ่งโดยปกติตาทั้ง 2 ข้าง จะ
เคลื่อนที่ไปในทิศทางตรงกันข้ามกับที่ศีรษะหมุน
ส่วนในผู้ป่วยที่มีการบาดเจ็บบริเวณ Midbrain และ Pons
(ในส่วนของ Brain stem) การเคลื่อนไหวของลูกตาจะ
ผิดปกติไป หรืออาจจะไม่มี Oculocephalic Reflex คือไม่
ว่าจะหมุนศีรษะไปในทิศทางใด ลูกตาจะคงอยู่ในต าแหน่งเดิม
การเคลื่อนไหวและก าลังของแขนขา (movement of
the limbs and motor power)
ก าลังปกติ: แขนหรือขามีก าลังปกติ
อ่อนแรงเล็กน้อย : มีแรงเคลื่อนไหวข้อ ต้านแรงถ่วงได้ แต่ต้านแรงกดได้น้อยกว่าปกติ
อ่อนแรงมาก : มีแรงเคลื่อนไหวข้อ ต้านแรงถ่วงได้ ยกขึ้นได้ แต่ต้านแรงกดไม่ได้
แขนงอ : (abnormal flexion) จะมีเฉพาะส่วนแขนเท่านั้น
แขนหรือขาเหยียดเกร็ง : (abnormal extension)
-อัมพาต : ไม่มีการเคลื่อนไหวแขนขาเลย แม้กระตุ้นด้วยความเจ็บปวด
การบันทึกให้ลง R (right) หมายถึงแขนหรือขาขวาและ L (left) หมายถึงแขนหรือขาซ้าย ลงในช่องที่ตรวจพบ ถ้ามีกระดูกหักหรือมีการใช้แรงดึง (on traction) หรือเข้าเฝือก ท าให้ไม่สามารถตรวจประเมินได้ ให้บันทึกว่า F (fracture)
การตรวจพิเศษทางห้องปฏิบัติการเพื่อการวินิจฉัย
การถ่ายภาพรังสีกะโหลกศีรษะ
และกระดูกสันหลัง
(Skull and spine radiographic)
การถ่ายภาพสมองด้วยคอมพิวเตอร์Computed Tomography : CT)เช่น Computed tomograph :yangiography (CTA)
การถ่ายภาพโดยใช้คลื่นเสี่ยง (Magnetic Resonance
Imaging: MRI) เช่น Magnetic resonance
angiography (MRA)
การเจาะหลัง (Lumbar puncture)
การตรวจคลื่นสมอง (Electroencephalogram : EEG)
การฉีดสารทึบแสงเข้าเส้นเลือดสมอง (Cerebral angiography)
การวัดความดันในกะโหลกศีรษะอย่างต่อเนื่อง (Continuous
Intracranial Pressure Monitoring)