Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคฉี่หนู leptospirosis - Coggle Diagram
โรคฉี่หนู leptospirosis
เป็นการติดเชื้อแบคทีเรียชนิดหนึ่งที่เกิดขึ้นได้ทั้งกับคนและสัตว์ การติดเชื้อในคนมีสาเหตุมาจากการสัมผัสดิน น้ำ อาหารที่ปนเปื้อนปัสสาวะ เลือด หรือเนื้อเยื่อของของสัตว์ที่ติดเชื้อชนิดนี้ เช่น สุนัข วัว ควาย หนู สุกร ม้า สัตว์ป่า
การติดเชื้อ
-
-
ผ่านทางการดื่มน้ำ หรือ กินอาหารที่ปนเปื้อนเชื้อโรคเข้าไป ซึ่งผู้ที่มีความเสี่ยงต่อการรับเชื้อ มักจะเป็นผู้ที่ทำงานใกล้ชิดกับสัตว์ หรือต้องสัมผัสกับ ดินแฉะ แหล่งน้ำต่าง ๆ ได้แก่ เกษตรกร ชาวไร่ ชาวนา ชาวสวน ฟาร์มเลี้ยงสัตว์ เหมือง แร่ ส่วนประชาชนทั่วไปที่อาศัยในเขตเมืองมักมีความเสี่ยงในช่วงหน้าฝน มีน้ำท่วม ละแวกบ้านมีหนูชุกชุม หรือเป็นนักกีฬาทางน้ำ เช่น เรือแคนู วินเซิร์ฟ สกีน้ำ เป็นต้น
อาการแสดง
ผู้ติดเชื้อจากโรคฉี่หนูจะสามารถแสดงอาการได้ตั้งแต่ 2-30 วันหลังได้รับเชื้อ แต่ส่วนใหญ่มักแสดงอาการในช่วงประมาณ 7-14 วัน ซึ่งอาการของโรคนี้อาจปรากฏตั้งแต่ไม่มีอาการเลย มีอาการขั้นอ่อนไปจนถึงขั้นรุนแรงถึงชีวิต
-
-
-
-
-
อันตรายของโรคฉี่หนู
ผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรง และภาวะแทรกซ้อนมาก อาจเกิดความทุพพลภาพตามมาหรือ อาจเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ ภาวะแทรกซ้อนระยะหลัง หรือระยะยาวที่อาจเกิดตามมาได้แก่ ภาวะเยื่อบุตาอักเสบ เรื้อรัง ม่านตาอักเสบเรื้อรัง (uveitis , iridocyclitis) ซึ่งอาจทำให้การมองเห็นผิดปกติได้ ผู้ที่เคยเป็นแล้วสามารถเป็นซ้ำได้อีก
การวินิจฉัย
-
-
-
วนกรณีที่ผู้ป่วยมีอาการของโรคชนิดรุนแรง อาจต้องใช้การวินิจฉัยวิธีอื่นร่วมด้วย เช่น การเอกซเรย์ทรวงอก การตรวจเลือดเพื่อดูการทำงานของตับและไตเพิ่มเติม
การรักษา
โรคฉี่หนูมักไม่มีอาการรุนแรงและหายดีได้เอง หรืออาจรักษาด้วยยาปฏิชีวนะอย่างยาเพนิซิลลิน (Penicillin) หรือดอกซีไซคลิน (Doxycycline) เป็นระยะเวลา 5-7 วัน ซึ่งควรต้องรับประทานตามกำหนดให้ครบถ้วนแม้อาการจะดีขึ้นแล้วก็ตาม เพื่อให้แน่ใจว่าเชื้อแบคทีเรียถูกกำจัดจนหมด และป้องกันการกลับไปติดเชื้ออีกครั้ง
ยาปฏิชีวนะ ผู้ป่วยอาจรับประทานยาแก้ปวดอย่างไอบูโพรเฟน (Ibuprofen) หรือพาราเซตามอล (Paracetamol) เพื่อลดอาการปวดศีรษะ มีไข้ และปวดกล้ามเนื้อได้เช่นกัน