Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 10 ปัญหาการใช้สารเสพติดและการทารุณกรรม - Coggle Diagram
บทที่ 10
ปัญหาการใช้สารเสพติดและการทารุณกรรม
สารเสพติด (substance) หมายถึงยา สารเคมีหรือวัตถุใดๆ เมื่อเสพเข้าสู่ร่างกายไม่ว่าจะโดยการรับประทาน สูบ ฉีด สูดดม หรือวธิีการใดกต็าม ทำให้เกิดผลต่อร่างกายจิตใจและอารมณ์โดยผู้เสพมีความต้องการที่จะได้รับสาร นั้นตลอดเวลา
ประเภทของสารเสพติด
1.ตามการออกฤทธิ์
-สารกดประสาท ออกฤทธิ์กดการทำงานของสมอง ได้แก่ แอลกอฮอล์ ฝิ่น มอร์ฟีน เฮโรอีน
-สารหลอนประสาท ออกฤทธิ์ ทำให้การรับรู้จากความเป็นจริง เช่น ยาอี ยาเลิฟ ยาเค กัญชา สารระเหย เห็ดขี้ควาย
-สารกระตุ้นประสาท ออกฤทธิ์กระตุ้นส่วนของพฤติกรรมและการเคลื่อนไหว ได้แก่ แอมเฟตามีน ยาเลิฟ ยาอี ยาไอซ์โคเคน บุหรี่ กาแฟ กระท่อม เป็นต้น
-สารออกฤทธิ์ผสมผสาน อาจกด กระตุ้นหรือหลอนประสาทผสมรวมกัน ได้แก่ กัญชา
2.ตามที่มาของสาร
-ประเภทที่ได้จากธรรมชาติ เช้น ฝิ่น มอร์ฟีน กระท่อม กัญชา
-ประเภทที่ได้จากการสังเคราะห์ เช่น เฮโรอีน แอมเฟตามีน สารระเหย
3.ตามบังคับกฎหมาย
-ถูกกฎหมาย(legal drug) เช่น กาแฟ บุหรี่สุรา ไวน์ เบียร์ กัญชา ผิดกฎหมาย (illegal drug) เช่น มอร์ฟีน เฮโรอีน ยาอี ยาไอซ์ ยาเค ปอมเฟตามีน
-ถูกกฎหมาย(legal drug) เช่น กาแฟ บุหรี่สุรา ไวน์ เบียร์ กัญชา
ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการใช้สารเสพติด
ปัจจัยด้านชีวภาพ
1.Genetic factors
2.Brain transmitters: Neurotransmitter Receptor
ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม
-พฤติกรรมการเลียนแบบ เป็นปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับค่านิยมของสังคมและวัฒนธรรม
-ความยากง่ายในการเข้าถึงสารเสพติด
ปัจจัยด้านlearning และ conditioning
ผลบวกจากการใช้ยา เป็นแรงเสริมให้พฤติกรรมการใช้ยายังคงอยู่ ผลบวกจาก
-การใช้ยาการถูกกระตุ้นด้วยปัจจัยที่เป็นเงื่อไขของการเสพ เกิดอาการอยากยา กลับไปเสพยาได้
สาเหตุของการติดสารเสพติด
1.ความอยากรู้อยากลองด้วยความคึกคะนอง
เพื่อนชวน หรือต้องการให้เป็นที่ยอมรับจากกลุ่มเพื่อน
มีความเชื่อในทางที่ผิด เช่น เชื่อว่าสารเสพติดบางชนิดอาจช่วยให้สบายใจลืมความทุกข์หรือช่วยให้
ทํางานได้มากๆ
4.ขาดความระมัดระวังในการใช้สารบางชนิด อาจทําให้ผู้สารเกิดการเสพติดได้โดยไม่รู็ตัว หากใช้สารอย่าง
พรํ่าเพรื่อหรือใช้ติดต่อกันเป็นเวลานานขาดการแนะนําจากแพทย์หรือเภสัชกร
5.สภาพแวดล้อม ถิ่นที่อยู่อาศัย มีการค้าสารเสพติดหรือมีผู้ติดสารเสพติด
6.ถูกหลอกให้ใช้ยาเสพติดโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์
7.คบเพื่อนใช้สารเสพติด หรือใช้สารเพื่อหนีปัญหา เมื่อมีปัญหาแล้วไม่สามารถแก้ปัญหาให้กับตัวเอง
Substance Use Disorders รูปแบบการใช้สารที่ปัญหา ก่อให้เกิดความเสียหายแสดงออกดังต่อไปนี้ อย่างน้อย 2 ข้อในระยะเวลา 12 เดือน
ใช้สารนั้นจำนวนมากหรือเป็นระยะเวลานานกว่าที่ตั้งใจไว้
ต้องการอย่างต่อเนื่องหรือพยายามลด/ควบคุมการใช้สารน้ันไม่เคยสำเร็จ
3.ใช้เวลาไปกับกิจกรรมต่างๆเพื่อให้ได้มาซึ่งสารนั้นเพื่อเสพสารหรือฟื้นตัวจากฤทธิ์ของสารนั้น
4.มีความยาก มีแรงปรารถนาอย่าวมากหรือมีแรงกระตถ้นที่จะใช้สารนั้น
5.ใช้สารนั้นซ้ำแล้วซ้ำอีกส่งผลให้บทบาทภาระหน้าที่สำคัญล้มเหลว
ใช้สารนั้นอย่างต่อ เนื่องแม้ว่าจะมีปัญหาในด้านสังคมหรือปัญหาสัมพันธภาพระหว่างบุคคลที่มีสาเหตุมาจากการใช้ยยาซ้ำแล้วซ้ำอีก
ใช้สารนั้นอย่างต่อ เนื่องแม้ว่าจะมีปัญหาในด้านสังคมหรือปัญหาสัมพันธภาพระหว่างบุคคลที่มีสาเหตุมาจากการใช้ยยาซ้ำแล้วซ้ำอีก
กิจกรรมสำคัญทางสังคมหน้าที่การงานหรือการพักผ่อน ถูกล้มเลิกหรือลดลงเนื่องจากการใช้สาร
8.ใช้สารซ้ำแล้วซ้ำอีกในสถาการณ์ที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพร่างกาย
ใช้สารนั้นเรื่อยๆ แม้ทราบว่ามีปัญหาทางกายหรือจิตใจจากสารนั้นอย่างต่อเนื่อง
มีการดื้อยา (tolerance)
-มีความต้องการใช้สารนั้นเพิ่มขึ้นอย่างมาก
-ผลของสารนั้นจะลดลงไปอย่างมาก
มีอาการขาดยา (withdrawal)
-เกิดลักษณะของกลุ่มอาการขาดยา
-มีการใช้สารนั้นเพื่อหลีกเลียงหรือบรรเทาอาการขาดยา
Substance Induced Disorders
ภาวะถอนสารเสพติด (substance withdrawal)
-เกณฑ์วินิจฉัยตาม DSM-5
-อาการและอาการแสดงอย่างเฉพาะเจาะจงของสารก่อให้เกิดความทุกข์ทรมานหรือความบกพร่องทางสังคม การงาน การทำหน้าที่ด้านอื่นที่สำคัญ
-อาการไม่ได้เกิดจากภาวะเจ็บป่วยทางกายอื่นและไม่สามารถอธิบายด้วยความผิดปกติทางจิตอื่นได้
ความผิดปกติทางจิตใจที่เกิดจากสารเสพติด (other substance/medication-
induced mental disorders)
-โรคจิต ได้แก่ อาการหลงผิด ประสาทหลอน
-อารมณ์สองขั้ว เช่น แอมเฟตามีนทำให้อาการซึมเศร้าในช่วงการถอนสารและอาการครื้นเครงหรือผสม(mixed mood) ในภาวะเป็นพิษ
-โรคซึมเศร้าพบได้ในภาวะถอนแอมเฟตามีน
-ความวิตกกังวล แอลกอฮอล์ทำให้มีอาการวิตกกังวล ที่พบได้บ่อย คือความวิตกกังวลทั่วไป และความกลวัแบบจู่โจม(panic attack)
-การย้ำคิดย้ำทำ แอลกอฮอล์ทำให้มีการคิดและมีพฤติกรรมซ้ำอย่างไม่มีเหตุผล
-ความผิดปกติของการนอนหลับ แอลกอฮอล์ทำให้หลับง่ายแต่มีผลเสียคือการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการนอนทำให้มีลักษณะการนอนไม่ต่อเนื่อง ตื่นบ่อย ภาวะถอน
แอลกอฮอล์ทำให้นอนไม่หลับหรือหลับมากเกินไป
-ปัญหาการตอบสนองทางเพศผิดปกติ เช่น กัญชาทำให้มีความต้องการทางเพศสูงขึ้น
-อาการเพ้อ (delirium)ภาวะเป็ นพิษของแอลกอฮอล์ทำให้เกิดอาการเพ้อด้วย
-ความผิดปกติของการรู้คิด(nuerocognitivedisorders) เช่น แอลกอฮอล์ทำให้สมองเสื่อม
ภาวะถอนสารเสพติด (substance withdrawal)
-เกณฑ์วินิจฉัยตาม DSM-5
-มีอาการและอาการแสดงอย่างเฉพาะเจาะจงของสารจากการที่ใช้สารนั้น
-มีพฤติกรรมหรือจิตใจเปลี่ยนแปลงผิดปกติที่เกี่ยวข้องกับภาวะเป็นพิษของสารนั้นความผิดปกติของร่างกายที่เกิดขึ้นมีลักษณะเฉพาะเป็ นผลจากที่สารที่มีต่อระบบประสาทส่วนกลางเกิดขึ้นไม่นานขณะหรือหลังการเสพสาร
-อาการไม่ได้เกิดจากภาวะเจ็บป่วยทางกายอื่นและไม่สามารถอธิบายด้วยความผิดปกติทางจิตอื่นได้
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
Motivational Interviewing for change
ทราบขั้นตอนของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม(Stage of Change, Prochaska &DiClemente)และมีท่าทีที่เหมาะสม
ทฤษฎีการรับรู้ตนเอง(Self Perception Theory)
ให้ความสำคัญที่ผู้รับการปรึกษา(Client-centered)
ทักษะ & กลยุทธ์ ( Skills :OARS & Strategies)
พูดคุยแบบ“ให้การปรึกษา(Counseling)”
การจัดการแรงต้าน (Handling Resistance)
ขั้นตอนการให้การปรึกษา
ขั้นตอนที่ 2 การทำความเข้าใจและหาสาเหตุของปัญหา
ขั้นตอนที่ 3 การหาวิธีแก้ไขปัญหา
ขั้นตอนที่1 การสร้างสัมพันธภาพ
ขั้นตอนที่ 4 การสรุปสิ่งที่พูดคุย
ทักษะการให้การปรึกษาแบบเสริมสร้างแรงจูงใจ
การถามคำถามปลายเปิด (Open-ended questioning)
การฟังอย่างเข้าใจและสะท้อนความ (Reflective listening)
Simple reflection (การสะท้อนความแบบธรรมดา)
Repeating - ทวนความ
Rephrasing – ทวนวลี
Paraphrasing – ถ่ายทอดความ
การชื่นชมยืนยันรับรอง (Affirmation)
การสรุปความ (Summarization)