Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอาย - Coggle Diagram
บทที่ 6 การสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอาย
การพยาบาลเพื่อการจัดการปัญหาภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุ
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะโภชนาการในผู้สูงอาย
การเปลี่ยนแปลงของร่างกาย
การรับรสและการดมกลิ่นลดลง การเผาผลาญกลูโคสลดลง
การทำหน้าที่ของกระเพาะอาหารลดลง ความต๎องการพลังงานขั้นพื้นฐานลดลง
ปัญหาทางด้านจิตใจ
ภาวะซึมเศร้า
ปัญหาการเจ็บป่วยทางรํางกาย
ภาวะทุพพลภาพ
ภาวะโภชนาการเดิมที่เป็นอยู่และบริโภคนิสัย
ความสามารถในการเข้าถึงแหล่งอาหาร
ภาวะเศรษฐกิจและสังคม
ความต้องการสารอาหารในผู้สูงอาย
ความต้องการพลังงาน ผู้สูงอายุมีความต้องการพลังงานลดลงเนื่องจากการเผาผลาญในร่างกายลดลง
พลังงานที่ผู้สูงอายุควรได้รับ
ผู้สูงอายุชายวันละ 2,250 กิโลแคลอรี่ ผู้สูงอายุหญิงวันละ 1,850 กิโลแคลอรี่ ไมํน้อยกวํา 1,200 กิโลแคลอร
ความต้องการโปรตีน ควรได้รับโปรตีน 1 gm : BW 1 kg
เช่น เนื้อปลา เนื้อไมํติดมัน ปลา ไขํ นม เต้าหู้ ผลิตภัณฑ๑จากถั่วเหลือง
ความต้องการไขมัน ผู้สูงอายุควรได้รับไขมันไมํเกิน 30% ของพลังงานทั้งหมด ควรลดไขมันอิ่มตัว เชํน น้ำมันมะพร้าว กะทิ
ความต้องการคาร์โบไฮเดรต ควรได๎รับคาร๑โบไฮเดรต 50-55 % ของ
พลังงานทั้งหมด เชํน ข้าว ข้าวซ้อมมือ แปูง เผือก มัน ข้าวโพด ลูกเดือน
ความต้องการแร่ธาตุ แร่ธาตุที่ผู้สูงอายุมัก
ขาด คือ แคลเซียมและเหล็ก
แคลเซียม 1,200 mg/day ได้แก่ นม
ธาตุเหล็ก 10 mg/day ได้แกํ ตับ เนื้อสัตว์ ไขํแดง เลือดสัตว์
ความต้องการวิตามิน ผัก ผลไม้เป็นแหลํงอาหารที่ให้วิตามิน เกลือแรํ ใยอาหารและสารแอนติออกซิแดนท์ ซึ่งชํวยต้านอนุมูลอิสระ
ความต้องการน้ำ ผู้สูงอายุควรได๎รับน้ าไมํต่ำกวํา 1,500 ml : day
การประเมินภาวะโภชนาการ
การประเมินอาหารที่บริโภค (dietary assessment)
โดยวิธีการซักประวัติอาหาร ปริมาณที่รับประทาน ความถี่ และการบริโภค
การวัดสัดส่วนของร่างกาย (anthropometric assessment)
การประเมินดัชนีความหนาของรํางกาย (body mass index: BMI)
การวัดความหนาไขมันใต้ผิวหนัง (skinfold thickness)
ด้วยคีมหนีบไขมัน หรือ Fat Caliper
การตรวจวัดค่าทางชีวเคมี
ภาวะซีดประเมินจากความเข้มข้นของเลือด
สถานะของโปรตีนในรํางกาย
ภาวะขาดวิตามินบี 2
การประเมินทางคลินิก ประกอบด๎วย การซักประวัติ และการตรวจรํางกาย
การคัดกรองภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุโดยใช้แบบประเมิน ได้แกํ แบบประเมิน ภาวะโภชนาการ MNA , แบบประเมิน NAF , แบบประเมิน Thai NRC
ปัญหาภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุและแนวทางการพยาบาล
แนวทางการพยาบาล ภาวะโภชนาการเกิน (over nutrition)
ภาวะโภชนาการต่ำ (under nutrition)
การป้องกันภาวะพลัดตกหกล้ม (Prevention of fall)
ผลกระทบของการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ
ผลกระทบทางด้านร่างกาย การหกล้มสํงผลทำให้รํางกายได้รับบาดเจ็บเล็กน้อยถึงรุนแรง
ผลกระทบทางด้านจิตใจ สํงผลตํอสภาพจิตใจของผู้สูงอายุโดยเฉพาะในผู้ที่เคยมีประสบการณ์ของการหกล้มจะเกิดความกลัว วิตกกังวล ตลอดจนสูญเสียความมั่นใจ
ผลกระทบทางด้านสังคม ลดการติดตํอกับสังคมหรือลดการทำกิจกรรมทางสังคม
การประเมินความเสี่ยงในการพลัดตกหกล้ม
การประเมินความสามารถในการเดิน และการทรงตัว
ประเมินความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน
. แบบประเมินสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัย ภายในบ้าน
ปัจจัยเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอาย
ปัจจัยภายในบุคคล (Intrinsic factor) การเปลี่ยนแปลงของกระบวนการชราภาพ การเจ็บป่วยหรือพยาธิสภาพของโรค
ปัจจัยภายนอกบุคคล (Extrinsic factor) ได้เเก่ สิ่งแวดล้อมภายในบ้าน
หลักการพยาบาลเพื่อการป้องกันการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอาย
การจำแนกผู๎สูงอายุที่มีความเสี่ยงตํอการพลัดตกหกล้ม การประเมินความเสี่ยงตํอการพลัดตกหกล้มและปัจจัยที่สัมพันธ์กับการบาดเจ็บที่มีสาเหตุจากการพลัดตกหกล๎ม
. การให้คำแนะนำแกํผู้สูงอายุ ในเรื่องการป้องกันการพลัดตกหกล้ม โดยให้คำแนะนำและจัดหาข้อมูลเกี่ยวกับการป้องกันความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม
การดูแลผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงสูงตํอการพลัดตกหกล้ม
ความหมายของการพลัดตกหกล้ม
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจากการที่บุคคลเสียหลักล้มลงไปที่พื้น หรือ
พื้นที่มีระดับต่ำกวํา ซึ่งไมํได้เกิดจากการถูกทำร้ายหรือการหมดสติ
การมีส่วนร่วมในสังคม (Social Participation)
ความหมาย
การมีกิจกรรมในครอบครัว
ชุมชน และสังคม เป็นผู้ดำรงไว๎ซึ่งสิทธิมนุษยชนและวัฒนธรรมของสังคม ผู้สูงอาย ที่ยังคงมีสํวนรํวม
ในกิจกรรมตํางๆ นั้น
ความสำคัญ
ผู้สูงอายุเป็นบุคคลที่เพียบพร้อมไปด้วย
ความรู้ และประสบการณ์ ที่ต้องการทำประโยชน์ให้สังคมอยูํ มีความพอใจในงานที่จะ
ทำ คนที่คิดวําตัวเองยังเป็นประโยชน์ตํอสังคมได้
มีทฤษฎีเกี่ยวกับผู้สูงอายุที่กล่าวถึง บทบาททางสังคม และกิจกรรมทางสังคมของผู้สูงอายุไว้
ทฤษฎีบทบาททางสังคม (Role Theory)
อายุเป็นองค์ประกอบที่สำคัญ
อยํางหนึ่ง ในการที่จะกำหนดบทบาทของแตํละบุคคล
ทฤษฎีกิจกรรมทางสังคม (Activity Theory)
ถ้าบุคคลใดมีกิจกรรมมากอยําง จะ
สามารถปรับตัวได้มากขึ้นเทํานั้น และมีความพึงพอใจในชีวิตสูง
ประโยชน์ที่ได้จากกิจกรรมบริการผู้อื่น
ได้การเสียสละ การทำประโยชน์แก่ผู่อื่น ทำให้มีสุขภาพจิตที่ดีขึ้น การติดต่อสัมพันธุ์กับผู้อื่น มีมิตรไมตรีที่มากขึ้น
ประเภทของการมีส่วนร่วมในสังคม
กิจกรรมที่มีรูปแบบ (Formal activity) เชํน เข้ารํวมในสมาคมตําง ๆ การเข้ากลุํมทางศาสนา
กิจกรรมที่ทำคนเดียว (Solitary activity) เชํน การท างานในยามวําง กิจกรรมเพื่อการพักผํอนหยํอนใจสํวนตัว
กิจกรรมที่ไม่มีรูปแบบ (Informal activity) เชํน การชํวยเหลืองานของสมาชิกในครอบครัว
การนันทนาการเพื่อสร้างเสริมสุขภาพในผู้สูงอายุ (Recreation)
ความหมายนันทนาการ
กิจกรรมที่ทำตามสมัครใจในยามวําง เพื่อให้เกิดความ
สนุกสนานเพลิดเพลินและผํอนคลายความตึงเครียด การสราญใจ
คุณลักษณะของนันทนาการ
ต้องมีการกระทำ (Activity)
ต้องเข้ารํวมกิจกรรมด้วยความสมัครใจ (Voluntary)
กิจกรรมนั้นต้องกระทำในเวลาวําง (Free Time)
เป็นกิจกรรมที่ให้การศึกษา (Education Activities)
กิจกรรมนั้นต้องสร้างความพึงพอใจ
กิจกรรมที่กระทำต้องไมํเป็นอาชีพ (Amateurism)
กิจกรรมนันทนาการต้องมีจุดหมาย (Objectives)
กิจกรรมมีความยืดหยุํน
นันทนาการมีผลพลอยได้อีก (Byproduct)
ประโยชน์ของกิจกรรมนันทนาการต่อผู้สูงอาย
ด้านร่างกาย ทำให้
รํางกายแข็งแรง อายุยืน ป้องกันโรค หลอดเลือดสมอง โรคหัวใจ โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน โรคกระดูก พรุน พัฒนาระบบภูมิคุ๎มกัน ป้องกันภาวะซึมเศร๎
ด้านจิตใจ นำไปสูํการมองโลกในแงํดี ความรู้สึกมีอิสระที่จะเลือกหรือ กระทำสิ่งตํางๆ
ด้วยตนเอง ความรู้สึกมีคุณคําในตนเอง
ด้านสติปัญญา ฝึกให้สมองได้คิดวางแผน เชํน เกมใบ้คำ การเขียนกลอน
ด้านสังคมเปิดโอกาสแกํผู้สูงอายุในการมีบทบาทในสังคม ได้ชํวยเหลือสังคมของตน เกิด
ความภาคภูมิใจและปรับตัวเข้ากับสังคมได้ดี
กิจกรรมนันทนาการที่เหมาะสำหรับผู้สูงอาย
กิจกรรมนันทนาการเกม กีฬา และ การละเลํน
กิจกรรมนันทนาการศิลปะหัตถกรรม และงานฝีมือ
กิจกรรมนันทนาการการร้องเพลง และดนตรี
กิจกรรมนันทนาการเข้าจังหวะและ การเต้นรำ
กิจกรรมนันทนาการด้านภาษาและ วรรณกรรม การเเสดง
กิจกรรมนันทนาการอาสาสมัคร บริการ โอกาสพิเศษ
แนวทางการจัดกิจกรรมนันทนาการสำหรับผู้สูงอาย
ประเมินผู้สูงอายุ ได้แกํ ประเมินข้อมูลพื้นฐาน ควรคำนึงถึงความต้องการความถนัด ความสนใจ คำนึงถึงข้อจำกัดทางด้านรํางกาย การเลือกกิจกรรมนันทนาการ การเตรียมการ เตรียมสถานที่ อุปกรณ์ กระบวนการ การดำเนินกิจกรรม การสิ้นสุดกิจกรรม กลําวคำชมเชย ให้กำลังใจ
การจัดการความเครียดในผู้สูงอายุ (Stress management)
สาเหตุของความเครียด
สาเหตุด้านร่างกาย
1) การเจ็บปุวยในวัยสูงอาย
2) ขาดปัจจัยพื้นฐาน
3) การถูกทำร้ายการถูกทารุณกรรม
สาเหตุด้านจิตใจ 1) สัมพันธภาพกับบุคคลในครอบครัว 2) การถูกทอดทิ้ง 3)การสูญเสีย
สาเหตุด้านสังคม เชํน สภาวะทางเศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลงบทบาท
การตอบสนองต่อความเครียด
การสนองตอบทางด้านรํางกาย มี 2
ลักษณะ คือ 1.1 General Adaptation Syndrome (GAS)
1.2 Local Adoptation Syndrome (LAS)
การสนองตอบด๎านจิตใจเมื่อเกิดความเครียด แบํงได๎ 3 ประเภท คือ 1) หนีและเลี่ยง 2) ยอมรับพร้อมกับเผชิญกับภาวะเครียด 3) เรียนรู้ที่จะอยูํกับความเครียด
การประเมินความเครียด
การประเมินโดยใช้แบบสอบถาม การสังเกตและสัมภาษณ์บุคคลหรือผู้ใกล้ชิด การตรวจรํางกาย เพื่อดูความผิดปกติของรํางกาย การตรวจทางห้องทดลอง การใช้เทคนิคการฉายภาพ การวัดความตึงตัวของกล้ามเนื้อ
การจัดการต่อความเครียด
การจัดการกับความเครียดโดยมุ่งแก้ไขปัญหา (problem-focused coping)
การปรับแก้โดยมุ่งปรับอารมณ์ (emotion-focused coping)
การพยาบาลผู้สูงอายุที่มีภาวะเครียด
ประเมินปัญหาทางการพยาบาล (Assessment)
การวินิจฉัยการพยาบาล (nursing diagnosis)
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
การให้การพยาบาลเพื่อปูองกันการเกิดความเครียด
การสํงเสริมให้บุคคลมีทักษะในการเผชิญการแก๎ไข โดยใช้ทักษะการจัดการกับความเครียดโดยมุํงแก๎ไขปัญหา (problem-focused coping) การประเมินผลทางการพยาบาล (Evaluation)
การพยาบาลเพื่อการส่งเสริมการพักผํอนนอนหลับในผู้สูงอายุ
กลไกทางสรีรวิทยาของการนอนหลับในผู้สูงอายุ
NREM (non rapid eye movement)
REM (rapid eye movement)
แบบแผนการนอนหลับในผู้สูงอาย
ระยะ stage 1 NREM
ระยะ stage 3 4 NREM
ระยะ REM ลดลง ตื่นเป็น
ระยะ 1-2 ครั้งตํอคืน
ตื่นเร็วกวําเดิม และงีบหลั
ปัจจัยที่มีผลต่อการนอนไม่หลับในผู้สูงอาย
ปัจจัยภายในรํางกาย ความเจ็บปวดมีผลทำให้เกิดความไมํสุขสบาย ความวิตกกังวล ความเครียด
ปัจจัยภายนอกรํางกาย เสียงรบกวนทำให้ระยะกํอนเคลิ้มนานขึ้น ระยะเวลาในการนอนหลับลดลง สะดุ้งตื่นเพิ่มขึ้น แสง อุณหภูมิ กลิ่นไมํพึงประสงค์ สัตว์รบกวน
การประเมินภาวะนอนไม่หลับ
คำถามเบื้องต้นสำหรับการประเมินการนอน ได้แก
ตรวจสอบประวัติโรคประจ าตัว
ตรวจสอบประวัติการใช๎สารเสพติด
สังเกตอาการและอาการแสดง
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการนอนหลับ
เข้านอนและตื่นนอนให้ตรงเวลา จัดสิ่งแวดล้อมที่เงียบสงบปราศจากสิ่งรบกวน ผํอนคลาย ที่นอน หมอนที่อํอนนุํมหรือไมํแข็งเกินไป สะอาด หลีกเลี่ยงคาเฟอีน รับประทานอาหารมื้อเย็นขนาดพอเหมาะ ควรมีกิจกรรมที่ทำในชํวงกลางวัน ออกกำลังกายให้เรียบร้อยกํอนเวลาเข้านอนอยํางน้อย 5 – 6 ชั่วโมง การใช้ยาเพื่อชํวยในการนอนหลับ
การพยาบาลเพื่อการส่งเสริมการออกกำลังกายในผู้สูงอาย
ประโยชน์ของการออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอาย
ทำให้รํางกายมีสมรรถภาพทางกายดีขึ้น
ลดอัตราการเกิดโรคที่ป้องกันได๎ เชํน หัวใจ อ้วน ความดันโลหิตสูง
ลดภาวการณ์พึ่งพา ลดภาวะทุพพลภาพ
ด้านจิตใจ ลดภาวะซึมเศร้า
ประเภทของการออกกำลังกายและการออกกำลังกายที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุ
ประเภทที่ 1 การออกกำลังกายที่เพิ่มความแข็งแรงและทนทานของกล้ามเนื้อ
(isometric exercise) การออกกำลังกายอยูํกับที่
(isotonic exercise) ที่กล้ามเนื้อมีการเปลี่ยนแปลงความยาว
ประเภทที่ 2 การออกกำลังกายเพื่อเพิ่มสมรรถภาพของปอดและหัวใจ
(aerobic exercise) การออกกำลังกายที่ต้องใช้ออกซิเจนจำนวนมาก
(anaerobic exercise) การออกกำลังกายที่ไมํได้ใช้ออกซิเจนอยํางสม่ำเสมอ
ประเภทที่ 3 การออกกำลังกายเพื่อเพิ่มความยืดหยุ่นและการผ่อนคลาย
(stretching) นการออก
กำลังกายที่กระทำซ้ำ ๆ กันคล้ายการยืด
แนวทางการจัดโปรแกรมการออกกำลังกายในผู้สูงอายุ
ตรวจร่างกายว่าไมํมีความเจ็บป่วย ประเมินระดับการทำกิจกรรม การเคลื่อนไหวของข้อ ความแข็งแรงและความตึงตัวของ
กล้ามเนื้อ เลือกรูปแบบการออกกำลังกายที่ผู้สูงอายุชอบ และถนัด เน้นการออกกำลังกายที่สม่ำเสมอ หลีกเลี่ยงการออกกำลังกายที่เป็นการแขํงขัน สิ่งที่บํงชี้ปริมาณการออกกำลังกายที่เหมาะสมและมีประโยชน์ตํอรํางกายได้ดี
การพยาบาลเพื่อการจัดสิ่งแวดล้อมสำหรับผู้สูงอายุ (Environment)
กระบวนการเปลี่ยนแปลงร่างกายที่ส่งผลให้เกิดการบาดเจ็บเนื่องจากการมีสภาพแวดล้อมไม่
เหมาะสมในผู้สูงอาย
ลานสายตาแคบลง การมองเห็นไมํชัดเจน การเสื่อมถอยทางการได้ยิน ความเสื่อมถอยของกล้ามเนื้อ ความเสื่อมถอยของกระดูก ประสาทรับความรู้สึก ทั้งความเจ็บปวด ความเสื่อมถอยของระบบประสาทและสมอง
สิ่งแวดล้อมของที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอาย
ตัวบ้าน ควรเป็นบ้านชั้นเดียว ไมํมีขั้นที่สูง มีชานพักหรือบันไดที่กว้างลึก พื้น ควรปรับให้มีลักษณะเป็นพื้นเรียบ ไมํขรุขระและไมํขัดมันจนลื่น บันได ควรติดตั้งราวจับที่มั่นคงเพื่อให้สะดวกในการยึดเกาะ ประตู ไมํควรมีธรณีประตู ห้องนอนควรจัดให้อยูํในพื้นที่ที่มีอากาศถํายเทได้สะดวก ห้องน้ำ มีราวจับ พื้นไมํลื่น แสงสวํางเพียงพอ การตกแตํงภายในบ้านควร มีรูปภาพ รูปถํายที่ผู้สูงอายุคุ้นเคย อาจปรับสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับภาวะทุพพลภาพ