Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิดชนิดเขียว (Cyanotic heart disease),…
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิดชนิดเขียว
(Cyanotic heart disease)
เกิดจากการที่เลือดไหลลัดวงจรจากขวาไปซ้าย
(right to left shunt)
Tetralogy of Fallot (TOF)
ประกอบด้วยความผิดปกติ 4 อย่าง
Pulmonary Stenosis (PS)
หลอดเลือด aorta ค่อนไปทางขวา (Overriding aorta)
Ventricular Septal Defect : VSD
Right Ventricular Hypertrophy (RVH)
มีการหนาตัวของ ventricle
อาการและอาการแสดง
ไม่เขียวทันทีหลังคลอด
เด็กโต
อายุ< 2 ปี (ช่วง2ปีแรก)พบเกิดภาวะ anoxic spells
มักจะเหนื่อยง่าย เวลาเหนื่อยจะนั่งยองๆ (squatting)หรือท่า knee chest position เพื่อลด venous blood return
อายุประมาณ ประมาณ 3 – 6 เดือน ในตอนแรกจะพบว่า
มีอาการเขียว เฉพาะเวลาเด็กออกแรง
มีการผสมกันระหว่างเลือดแดงและเลือดดำไปเลี้ยงสมอง ทำให้เกิดbrain abscessได้ง่าย
การประเมินสภาพ
Lab
พบ Hct/ Hb สูงขึ้น
การถ่ายภาพรังสีทรวงอก
พบหัวใจRVโต pulmonary artery ที่ไปปอดขนาดเล็กกว่าปกติและหลอดเลือดไปปอดลดลง
การตรวจร่างกาย
น้ำหนักและส่วนสูงน้อยกว่าปกติ : ตัวเล็ก ผอมกว่าปกติ
ปากและเล็บเขียว นิ้วมือและนิ้วเท้าปุ้ม (clubbing finger)
ฟังพบ systolic ejection murmur
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ
มี RVโต แกน QRS เบี่ยงเบนไปขวา
การซักประวัติ
ตามอาการ/เด็กโตช้า พัฒนาการไม่สมวัย น้ำหนักน้อย HF pulmonary edema
Echocardiography
พบ RAโต(enlarge) RVหนา(hypertrophy)
aorta คร่อม VSD pulmonary valve เล็ก
การรักษา
รักษาสุขภาพฟัน อาหารที่เหมาะสม ให้ได้รับภูมิคุ้มกัน
ตามปกติ
ให้ยาป้องกัน infective endocarditis
ป้องกันการเกิดภาวะเส้นเลือดในสมองแตก (cerebrovascular accident : CVA)
ให้ยาบำรุงเลือด
ป้องกัน/ลดpolycythemia
ลดCVAได้
รักษาภาวะ anoxic spells
knee-chest position/Squat
ให้ออกซิเจน
ให้Propanolol
ให้ NaHCO3 1-2 mEq/kg. IV slow put
ผ่าตัดTOFต่อระบบไหลเวียน
เพื่อเพิ่มปริมาณเลือดไปปอด ให้มากขึ้น
ผ่าตัดที่ละส่วนที่ผิดปกติ
ผ่าตัดหลายครั้ง
ให้ยารักษาหัวใจวายเช่นเดียวกัน Lanoxin, Lasix
เกิดจากการที่เลือดแดงและดำไหลปนกัน
(Mixed Blood flow)
TGA หรือ TGV (Transposition of great
arteries/vessels)
คือ
ภาวะที่ aorta และ pulmonary artery อยู่สลับที่กัน โดย aorta จะออกจาก RV แต่ pulmonary artery ออกจาก LVแทน
อาการและอาการแสดง
ส่วนใหญ่มีอาการเขียว ตั้งแต่ 2–3 วันแรกหลังคลอด
หายใจเร็ว
ดูดนมได้ช้า
มีหัวใจวาย
ตับโต
เด็กจะเจริญเติบโตช้ากว่าปกติ
ส่วนใหญ่เสียชีวิตทันทีหลังคลอด หากไม่มีAbnormalร่วม เช่น TGA+PDA
การประเมินสภาพ
การซักประวัติ
เขียว ดูดนมแล้วเหนื่อยง่าย
การตรวจร่างกาย
เขียว มี clubbing finger
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
เด็กโต : Hb/Hct สูงกว่าปกติ(Polycytemia)
ถ่ายภาพรังสีทรวงอก
เงาหลอดเลือดในปอดเพิ่มขึ้น ห้องหัวใจโต
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ
RA และRVโต ความดันในเส้นเลือดของปอดสูง
Echocardiography
การรักษา
ดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน
ป้องกันการติดเชื้อเข้าสู่หัวใจ
แนะนำอาหารที่ถูกต้อง ป้องกันและรักษาภาวะเลือดจาง
รักษาภาวะหัวใจวาย
ให้ Prostaglandin ในระยะหลังคลอดใหม่ๆ ขยายหลอดเลือดให้เกิดรูรั่ว PDA
รักษาทางศัลยกรรม
swift หลอดเลือด
ทำatrial septal defect โดยใช้ balloon catheter
หรือการผ่าตัด
ทะลุระหว่างผนังกั้น atrium ด้วย balloon
โรคหัวใจที่เกิดขึ้นภายหลัง