Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีรภาพระบบทางเดินหายใจ - Coggle Diagram
พยาธิสรีรภาพระบบทางเดินหายใจ
ANATOMY OF RESPIRATORY SYSTEM
ทางเดินหายใจส่วนล่าง (Lower Respiratory Tract)
จมูก (Nose)
คอหอย (Pharynx)
กล่องเสียง(Larynx)
หน้าที่ของทางเดินหายใจส่วนบน
เป็นทางผ่านของอากาศสู่ทางเดินหายใจส่วนล่าง
ป้องกันสิ่งแปลกปลอมเข้าสู่ทางเดินหายใจส่วนล่าง
ปรับอุณหภูมิและกรองความชื้น
ทางเดินหายใจส่วนบน (Upper Respiratory Tract )
หลอดลม(trachea, bronchi, bronchioles)
ปอด (Lungs)
ถุงลม (alveoli)
หน้าที่ของทางเดินหายใจส่วนล่าง
สร้างสารเคลือบผิว(surfactant)ซึ่งบุอยู่บริเวณalveolar cells ของปอดเพื่อไม่ให้ถุงลมแฟบขณะหายใจออก
สร้างน้ าเมือกดักจับสิ่งแปลกปลอม
เป็นทางผ่านอากาศเข้าสู่ถุงลม
ทรวงอก (Thorax)
กระดูกซี่โครง (Ribs)
กล้ามเนื้ อซี่โครง (Intercostal ribs)
กระบังลม (Diaphragm)
PATHOLOGY OF RESPIRATORY SYSTEM
RESTRICTIVE LUNG DISEASE:
IDIOPATHIC PULMONARY FIBROSIS
อาการ
ไอ
หายใจลำบากและหายใจไม่ออก
เสียงแตกในทางเดินหายใจ
การตรวจหัวใจ = ความดันโลหิตสูงในปอด
เสียงวาล์วปิดปอดที่โดดเด่น (P2)
การทดสอบการทำงานของปอด = อัตราส่วนที่เพิ่มขึ้น
โรคปอดอุดกั้น
โรคหอบหืด (Asthma)
ลักษณะเป็น clinical syndrome คือ กลุ่มอาการ
ได้แก่
หายใจเสียงวี๊ด (wheezing)
แน่นหน้าอก (chest tightness)
หายใจไม่อิ่ม (shortness of breath ) (dyspnea)
ไอ (cough)
โรคที่เกิดจากการตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นมากเกินไปทำให้เกิดการอักเสบและการอุดกั้นของทางเดินหายใจ
การเกิดโรค
-กระตุ้น of local inflammatory cellsโดยเฉพาะ mast cells และ eosinophils
เกิด IgE-dependent mechanisms
-หลั่งสาร Acute-acting mediators = leukotrienes, prostaglandins, histamine
เกิด smooth muscle หดตัวม, mucus hypersecretion และ vasodilation
โรคปอดอุดกั้น (COPD)
อาการ
1.โรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง
ไอมีเสมหะ
การทดสอบการทำงานของปอด = ลดลง
หายใจดังเสียงฮืด ๆ เสียงแตกหยาบที่หายใจเข้าและหายใจออก
2.Emphysema
การถ่ายภาพ: อัมพาตครึ่งซีก + nหน้าอกหน้าหลังเพิ่มขึ้น
การทดสอบการทำงานของปอด = ลดลง
เสียงลมหายใจ = ลดลง
สาเหตุและระบาดวิทยา
COPD เพิ่มขึ้ นใน คนอายุมากและเพศชาย
genetic risk factor = deficiency of α1-protease (α1-antitrypsin)
การประเมินสมรรถภาพของระบบหายใจ
(Pulmonary function test)
การประเมินก๊าซในหลอดเลือดแดง (Arterial blood gas)
การประเมินก๊าซในหลอดเลือดแดง (Arterial blood gas) คือการวิเคราะห์เลือดและวัดแรงดันส่วนของก๊าซ(Pressure :P)ก๊าซในเลือดแดงจะเป็นตัวบ่งชี้ว่าถุงลมปอดสามารถระบายอากาศและแลกเปลี่ยนกับเลือดได้พอเหมาะหรือไม่ ในภาวะร่างกายปกต
ประเมินระดับออกซิเจนในเลือด
ตรวจดูดุลยภาพกรด ด่างในเลือด
การตรวจ Arterial blood gas ในผู้ป่วย
ผู้ป่วยหนักและรุนแรง ใน ICU
ผู้ป่วยในภาวะฉุกเฉิน
ผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยออกซิเจน
ผู้ป่วยในระหว่างการดมยา
ผู้ป่วยภาวะหายใจล้มเหลว
ผู้ป่วยที่มีภาวะเสียสมดุลกรด ด่าง
ได้รับสารพิษ
ท้องร่วงรุนแรง
การประเมินสมรรถภาพของระบบการหายใจ (Pulmonary function test)
ป็นการตรวจที่สำคัญสำหรับการวินิจฉัย, ประเมินและติดตามผลการรักษา
โรคระบบการหายใจเช่น โรคหืด, โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง, โรคปอดจากการทำงาน เป็นต้น
1.การประเมินสมรรถภาพของระบบการหายใจ (Pulmonary function
test) โดยใช้มาตรวัดปริมาตรอากาศหายใจเข้าและออก ที่ใช้บ่อย คือ
Functional residual volume คือปริมาตรของอากาศที่เหลืออยู่ในปอด
หลังจากหายใจออก ปกติมีค่าประมาณ 2,000-2500 cc
Tidal volume (TV) คือปริมาตรอากาศที่หายใจเข้าหรือออกแต่ละครั้ง มี
ค่าประมาณ 500 cc
Force expiratory volume (FEV) คือปริมาตรของอากาศที่หายใจออกเต็มที่หลังจากหายใจเข้าเต็มที่ ในเวลา 1 วินาที (FEV 1.0) มีค่าประมาณ 4,000 cc
FVC (Forced Vital Capacity) คือปริมาตรของอากาศที่เป่าออกอย่างเร็ว แรงจนหมด หลังจากหายใจเข้าอย่างเต็มท
ซึ่งโดยปกติค่า FVC แสดงถึงปริมาตรอากาศที่จุอยู่ในปอดเกือบทั้งหมด (ประมาณเท่า vitalcapacity)
ค่าปกติจะมีค่ามากกว่า 80 % โดยค่า FVC จะต่ าลงในกรณี โรคที่ปอดมีขนาดเล็กกว่าปกติ(restrictive lung disease)
PHYSIOLOGY OF RESPIRATORY
SYSTEM
STATIC PROPERTIES: COMPLIANCE & ELASTIC
RECOIL
โรคปอด
Pulmonary fibrosis =C↓, E↑
Emphysema =C↑, E↓
โรคของSurfactant
IRDS: Surface tension↓=C↓ ส่งผลให้ work of breathing↑
ปัจจัยที่มีผลต่อ Compliance
1.ความยืดหยุ่นของปอด
2.ความยืดหยุ่นของผนังทรวงอก
3.สารลดแรงตึงผิว
โรคทรวงอก
โรคของกล้ามเนื้อและกระดูกสันหลัง
Ankylosing/ Kyphosis, Scoliosis = C↓
โรคของเยื่อหุ้มปอด
Pneumothorax/hemothorax ท าให้ interplura pressure↑ = C↓
THE NORMAL SPIROGRAM
หายใจออก
กะบังลมจะเลื่อนสูงขึ้น
กระดูกซี่โครงจะเลื่อนต่ำลง
ความดันอากาศในบริเวณรอบๆ
ปอดสูงกว่าอากาศภายนอก
หายใจเข้า
ความดันอากาศภายในบริเวณรอบๆ
ปอดลดต่ำลงกว่าอากาศภายนอก
กะบังลมจะเลื่อนต่ำลงกระดูกซี่โครงจะ
เลื่อนสูงขึ้น
การหายใจ
คือ กระบวนการแลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
การหายใจภายนอก (External respiration) เป็นการทำงานของปอดโดยมีการแลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ระหว่างเลือดที่ไหลเวียนในปอดกับอากาศที่หายใจเข้าไป
การขนส่งก๊าซ (Transport mechanism) เป็นการขนส่งก๊าซออกซิเจนจากปอดไปยังเซลล์เนื้อเยื่อและขนส่งก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากเซลล์เนื้อเยื่อไปขับถ่ายออกทางปอด
การหายใจภายใน (Internal respiration) เป็นการแลกเปลี่ยนก๊าซที่
เกิดขึ้นที่เซลล์และเนื้อเยื่อ
การเเลกเปลี่ยนก๊าซ(Gas exchange)
การแลกเปลี่ยนก๊าซระดับปอด (Pulmonary gas exchange)
เป็นการแลกเปลี่ยนก๊าซระหว่างอากาศภายนอกและเลือดเพื่อรักษาระดับแรงดันย่อยของออกซิเจน (partial pressure of arterial oxygenation: PaO2) และคาร์บอนไดออกไซด์ (partial pressure of carbon dioxide: PaCO2) ที่ละลายอยู่ในเลือดแดง (arterial blood) ให้เป็นปกติ
การแลกเปลี่ยนก๊าซระดับเซลล์ (Cellular gas exchange)
เป็นการแลกเปลี่ยนก๊าซผ่านเข้าและออกจาก cell membrane
การแลกเปลี่ยนก๊าซระดับหลอดเลือดฝอย (Capillary gas
exchange)
กลไกการขนส่งก๊าซในเลือด (gas transportation mechanism) และการมีเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อต่างๆอย่างเพียงพอ
กลไกการขนส่งก๊าซในเลือด (gas transportation mechanism) ขึ้นอยู่กับปริมาณของเม็ดเลือดแดง หรือฮีโมโกลบิน (hemoglobin; Hb) เนื่องจากออกซิเจนจะจับกับฮีโมโกลบินเรียกว่า ออกซีฮีโมโกลบิน (oxyhemoglobin) และขนส่งออกซิเจนไปให้เซลล์ต่างๆ หากมีภาวะซีด (anemia) จะทำให้เกิดภาวะพร่องออกซิเจนได้
การมีเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อต่างๆอย่างเพียงพอ (adequate tissue perfusion) ทั้งในระดับอวัยวะและระดับเซลล์ หากผู้ป่วยมีภาวะช็อก (shock) หรือปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจในหนึ่งนาที (cardiac output; CO) ลดลง ทำให้เลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อต่างๆลดลง การแลกเปลี่ยนก๊าซระหว่างเลือดและเซลล์เนื้อเยื่อก็ลดลงด้วย
การแลกเปลี่ยนก๊าซระดับเซลล์ขนาดเล็ก (Subcellular gas exchange)
เป็นการแลกเปลี่ยนก๊าซเข้าและออกจากไมโตคอนเดรีย (mitochondria) รวมถึงการเมตาโบลิซึม (metabolism) ที่ใช้ออกซิเจนในเผาผลาญสารอาหารให้เป็นพลังงานและผลิตก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกมา
ความผิดปกติของการหายใจ
Restrictive pulmonary function จากการขยายตัว (Expansion)ของปอดถูกจำกัด
Restrictive pulmonary function
Atelectasis
การขยายตัว (Expansion) ของปอดไม่สมบูรณ์ หรือภาวะปอดแฟบ
ไม่มีอากาศใน Alveoli
Pulmonary fibrosis
Pulmonary edema
มีการสะสมของของเหลวในเนื้อเยื่อปอด คือ interstitial และ
alveoli
Pneumothorax
ภาวะที่มีลมเข้าไปใน pleural space ซึ่งมีผลให้ปอดแฟบ
Pleural effusion or Hydrothorax
ภาวะที่มีการสะสมของเหลวในเยื่อหุ้มปอด ถ้าของเหลวนั้นเป็นหนองเรียกว่าempyema แต่ถ้าเป็นเลือดเรียกว่า hemothorax
Abscess formation and cavitation
Pleurisy (Pleuritis)
Chest wall restriction
ภาวะที่มีผนังทรวงอกเคลื่อนไหวได้น้อยหรือไม่มีการเคลื่อนไหว
สาเหตุ
มีการเปลี่ยนแปลงของเนื้อปอด (parenchymal)
โรคของเยื่อหุ้มปอด
มีปัญหาของ Chest Wall
Obstructive pulmonary function จากรูท่อทางเดินหายใจอุดตัน
Restrictive pulmonary function
มีผลให้แรงต้านทานการไหลของอากาศหายใจ (resistance airway)
สูงขึ้น มีการอุดกั้นของหลอดลม ท าให้การหายใจออกล าบาก
กลุ่มนี้จะตรวจพบค่า FEV1 / FVC ต่ ากว่า 70 % โดยค่า FVC จะปกติ
เช่น ในผู้ที่เป็นโรคหืด โรคถุงลมโป่งพองจากการสูบบุหรี่ โรคหลอดลมอักเสบ เรื้อรัง
แบ่งเป็น 3 กลุ่ม จำแนกตามการอุดกั้น
กลุ่มที่รูท่อทางเดินหายใจอุดตัน
ภายในของรูท่อทางเดินหายใจอุดตัน เนื่องจากการมีสิ่งแปลกปลอม เสมหะ จำนวนมาก หรือสำลักน้ าหรือสารบางอย่างเข้าไปในรูทางเดินหายใจ
ทำให้ตีบหรือแคบ ซึ่งจะมีผลต่อการไหลของอากาศ
สาเหตุ
ติดเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส และอื่นๆ
การระคายเคืองจากสารพิษ
การสำลักสิ่งแปลกปลอมเข้าไปในหลอดลม
การได้รับบาดเจ็บต่อท่อทางเดินหายใจ
การสูบบุหรี่
เนื้องอก
ต่อมน้ำเหลืองโตเบียดท่าทางเดินหายใจ
กลุ่มที่ผนังท่อทางเดินหายใจบวมหรือหดตัว
ผนังท่อทางเดินหายใจบวมหรือหดตัว ทำให้เกิดภาวะอุดกั้นของทาง
เดินหายใจได้ ซึ่งอาจเป็นอย่างเฉียบพลัน หรือเรื้อรัง เช่น Asthma Chronic bronchitisเป็นต้น
โรคหลอดลมโป่งพอง Bronchiectasis
เป็นภาวะที่หลอดลมเสียหายอย่างถาวร ส่งผลให้มีเชื้อแบคทีเรียและสารคัดหลั่งสะสมภายในปอด ทำให้ผู้ป่วยเสี่ยงติดเชื้อและเกิดการอุดตัน
ของทางเดินหายใจ โรคนี้ไม่มีวิธีรักษาให้หายขาด ทำได้เพียงควบคุมอาการไม่ให้กำเริบโดยผู้ป่วยสามารถใช้ชีวิตได้ตามปกติ
กลุ่มที่มีแรงดันบริเวณรอบๆ นอกท่อทางเดินหายใจ
แรงดันที่เพิ่มขึ้นจากบริเวณรอบๆ นอกท่อทางเดินหายใจ
เป็นสาเหตุทำให้เกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจ เนื่องจากมีการสูญเสียแรงตึงตัวของผนังถุงลม(alveolar) ซึ่งพบได้ในโรคถุงลมโป่งพอง (emphysema) หรือโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง คือมีลมหรืออากาศอยู่ในส่วนของ terminal bronchioleและมีการท าลายผนังของถุงลมจึงท าให้มีลักษณะโป่งออกของถุง
หลักการพยาบาล
รักษาทางเดินหายใจให้โล่ง
การแก้ไขภาวะของ Hypoxemia
แนะนำภาวะโภชนาการ
แนะนำการปฏิบัติตนให้หลีกเลี่ยงสาเหตุนำต่างๆ
ภาวะหายใจล้มเหลว
การที่ระบบหายใจไม่สามารถทำหน้าที่ระบายอากาศ และแลกเปลี่ยนก็าซได้เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย จะมีระดับ O2 ในเลือดแดง (Pa O2) ต่ ากว่าปกติ < 50-60 mmHg และ/หรือ CO2 ในเลือดแดง (Pa CO2) สูงกว่าปกติ >50 mmHg และร่างกายมีความเป็นกรดมากขึ้น< 7.25
Respiratory failure
Acute respiratory failure การหายใจล้มเหลวอย่างเฉียบพลัน ภาวะที่มีการพร่องของ O2 ในเลือดแดง (hypoxemia) Pa O2 ต่ ากว่า
50 mmHg หรือCO2 คั่ง (hypercapnia) Pa CO2 สูงกว่า 50 mmHg เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว
Chronic respiratory failure การหายใจล้มเหลวอย่างเรื้อรัง
ภาวะที่มีการพร่องของ O2 ในเลือดแดง และ CO2 สูงขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไปร่างกายสามารถปรับตัวชดเชยโดยการสร้างเม็ดเลือดแดงเพิ่มขึ้น และไตชดเชยภาวะเป็นกรด ด่างของร่างกายโดยการเก็บ HCO3- ไว้เพิ่มขึ้น
สาเหต
ความผิดปกติที่ปอด
1.1 Obstructive pulmonary function: Asthma รุนแรง, ปอดอุดกั้นเรื้อรัง, สิ่งแปลกปลอมอุดกั้นหลอดลม
1.2 Restrictive pulmonary function :pneumonia, pulmonary edema, atelectasis
1.3 ความผิดปกติของหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงปอด: pulmonary embolism
ความผิดปกติที่ช่องทรวงอกและเยื่อหุ้มปอด: chest injury, การได้รับ
การผ่าตัดช่องทรวงอก
ความผิดปกติที่ระบบประสาทส่วนกลาง: ศูนย์ควบคุมการหายใจถูกกด, สมองได้รับบาดเจ็บ, สมองขาดเลือดไปเลี้ยง, ความดันในสมองสูง, สมอง
อักเสบ
ความผิดปกติของระบบประสาทและกล้ามเนื้อ (neuromuscular):
ความผิดปกติของระบบหัวใจและหลอดเลือด
พยาธิสภาพ
การระบายอากาศน้อย (alveolar hypoventilation)
การระบายอากาศกับการไหลเวียนของเลือดไม่สมดุลกัน (V/Q) Mismatch
การลัด (right to left shunt)
การสูญเสียการซึมซ่านของก๊าซ (diffusion impairment)
Arterial blood gas
ประเมินระดับออกซิเจนในเลือด
ขั้นตอนการวิเคราะห์ค่า Arterial Blood Gas : AB
ขั้นที่ 2 ดูค่า PaCO2 (บอกความผิดปกติของ Respiratory system)หากค่า PaCO2 > 45 mmHg. = acidosis,
PaCO2 < 35 mmHg. = alkalosis
ขั้นที่ 3 ดูค่า HCO3- (บอกความผิดปกติของ Metabolism system)
หากค่า HCO3- > 26 = alkalosis , HCO3- < 22 = acidosis
ขั้นที่ 1 ดูค่า pH (บอกค่า acid-base status)
หากค่า pH < 7.35 = acidosis , pH > 7.45 = alkalosis
ขั้นที่ 4 พิจารณาการชดเชยกรณีไม่มีการชดเชย (non compensation) ค่า PaCO2,HCO3-ค่าใดค่าหนึ่งเปลี่ยนอีกค่าปกติ แปลผลรวมเป็นไปในแนวทางของ pH (acidosis, alkalosis) ตามสาเหตุกรณีมีการชดเชย แบ่งได้เป็น 2 แบบ
1.ชดเชยบางส่วน 2.ชดเชยสมบูรณ์
ขั้นที่ 5 ประเมินภาวะพร่องออกซิเจน ให้ดูจากค่า PaO2
ตรวจดูดุลยภาพกรด ด่างในเลือด
1.PaO2 (Oxygenation ค่า 80 - 100 มิลลิเมตรปรอท )บอกปริมาณออกซิเจนในเม็ดเลือดแดง
2.SaO2 ( ค่า 98 – 100 %)บอกออกซิเจนและความเข้มข้นของออกซิเจนในเม็ดเลือดแดง
HCO3 ( Metabolic function = 22-26)น้อยกว่า22เป็นกรด มากกว่า26เป็นด่าง.
4.PaCO2 ( Ventilation function : บอกหน้าที่การทำงานของปอด = 35-45)น้อยกว่า35เป็นด่าง มากกว่า45เป็นกรด
3.PH ความเป็นกรด-ด่างในเลือด (7.35-7.45).
น้อยกว่า7.35เป็นกรด มากกว่า7.45เป็นด่าง
6.Base excess ( BE ± 2.5) ยืนยันความเป็นกรด-ด่าง
-เป็นกรด +เป็นด่าง