Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นโยบายการคลัง (FISCAL POLICY) - Coggle Diagram
นโยบายการคลัง (FISCAL POLICY)
ความหมายของนโยบายการคลัง
นโยบายเกี่ยวกับการใช้รายรับและรายจ่ายของรัฐเป็นเครื่องมือสำคัญในการกำหนดแนวทาง เป้าหมาย และการดำเนินงาน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายทางเศรษฐกิจ
เครื่องมือของนโยบายการคลัง
รายจ่ายของรัฐบาล
การจำแนกประเภทรายจ่ายของรัฐบาลตามลักษณะเศรษฐกิจ
การจำแนกประเภทรายจ่ายของรัฐบาลตามงบพัฒนาและงบปกติ
การจำแนกประเภทรายจ่ายของรัฐบาลตามลักษณะงาน
การจำแนกประเภทรายจ่ายของรัฐบาลตามหน่วยราชการ
การจำแนกประเภทรายจ่ายของรัฐบาลตามหมวดค่าใช้จ่าย
. การจำแนกประเภทรายจ่ายของรัฐบาลตามแผนงาน
รายได้ของรัฐ
ภาษีอากร(Taxes and Duties) ภาษี
เงินได้ ภาษีสรรพสามิต ภาษีการค้า ภาษีทรัพย์สิน ภาษีศุลกากร ฯลฯ
เป็นรายได้ที่สำคัญที่สุด
รายได้จากการขาย&บริการ (Sale andServices) เช่น ค่าเช่าที่ดิน ขายอสังหาริมทรัพย์ ขายของกลางทียึดได้
รายได้อ้ื่นๆ (Other Sources) เช่น ค่าแสตมป์ ค่าธรรมเนียม และค่าปรับต่าง ๆ
รายได้จากรัฐพาณิชย์ (StateEnterprise) เช่น รายได้จากกำไรและเงินปันผล จากรัฐวิสาหกิจหรือองค์กรของรัฐหรอืองคก์รที่รัฐมีหุ้นส่วน
หนี้สาธารณะ
คือ หนี้ที่รัฐบาล (กระทรวงการคลัง) เป็นผู้กู้ยืม รวมถึงการค้ำประกัน
แหล่งที่มา
ภายในประเทศ BOT , สถาบันการเงินภายในประเทศ
ภายนอกประเทศ World Bank, ADB, IMF หรือจากรัฐบาลประเทศต่างๆ เป็นต้น
ระยะเวลา : ตราสารที่ใช้
S-R : ตั๋วเงินคลัง
L-R : พันธบัตรรัฐบาล สัญญาเงินกู้
วัตถุประสงค์ของหนี้สาธารณะ
เพื่อการลงทุนในโครงการต่างๆ
เพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
ใช้จ่ายในกรณีฉุกเฉิน
เพื่อชดเชยงบประมาณที่ขาดดุล
ชำระหนี้เก่าหรือ Refinance
Gang of 4 ด้านเศรษฐกิจ
กระทรวงการคลัง
สำนักงบประมาณ
ธนาคารแห่งประเทศไทย
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
งบประมาณแผ่นดิน
แผนเกี่ยวกับการใช้จ่ายและแผนเกี่ยวกับการจัดหารายได้ ในรอบระยะเวลาหนึ่ง โดยปกติ 1 ปี
งบประมาณรายรับ หมายถึงการประมาณการณ์หรือการคาดคะเนรายรับของรัฐบาลวาสมีทั้งหมดเท่าใด ในระยะเวลาหนึ่ง (1 ปี)
งบประมาณรายรับ = รายได้ของรัฐ + งบเงินกู้+ งบเงินคงคลัง
วัตถุประสงค์ของนโยบายการคลัง
เสถียรภาพของระบบเศรษฐกิจ (External and internal stability)
จัดสรรทรัพยากรของชาติ (Resources allocation)
การกระจายรายได้ที่เป็นธรรม (Equality of income distribution)
ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ (Economic Growth)
ทฤษฏี 3 ลูกสูบ
การเงินระหว่างประเทศ ชำระเงินเข้าประเทศ สูบเข้า ชำระเงินออกไป สูบออก
การเงินภายในประเทศ
ขยายเครดิต สูบเข้า
หดเครดิต สูบออก
การคลัง
รายจ่าย สูบเข้า
รายรับ สูบออก
นโยบายงบประมาณ
การใช้นโยบายการคลังในการบริหารระบบเศรษฐกิจ
เพื่อรักษาเสถียรภาพภายในทางเศรษฐกิจ
เงินเฟ้อ ใช้นโยบายการคลังแบบหดตัวลดรายจ่ายของรัฐบาล เพิ่มอัตราภาษีจัดทำงบประมาณแบบเกินดุล
เพื่อสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เพื่อการกระจายรายได้ที่เป็นธรรม
ด้านภาษี
จัดเก็บภาษีทางตรง
อัตราภาษีแบบก้าวหน้า
ด้านรายจ่าย
นำไปใช้ในโครงการที่เป็นประโยชน์แก่คนยากจน