Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Heart Failure - Coggle Diagram
Heart Failure
อาการ
- ทารกแรกเกิดพบว่าเกิดได้จากcardiomyopathyหรือสาเหตุอื่นนอกหัวใจ เช่น การติดเชื้อรุนแรง น้ำตาลต่ำ แคลเซียมต่ำ ภาวะซีดมาก
- อาการทั่วๆไป จะร้องกวนโยเย หงุดหงิด ชอบให้อุ้ม เหงื่อมาก ตัวเล็กไม่สมวัย
- เด็กโต จะพบว่าเหนื่อยง่าย เหนื่อยเวลาเล่น เล่นไม่ได้เท่าเพื่อน functional class เลวลง บวมบริเวณขา บางรายอาจมีท้องโต (จากภาวะ ascities) ต้องนอนหนุนหมอนสูง (Orthopnea) ลุกขึ้นมาหอบเหนื่อยตอนกลางคืน (Paroxysmal nocturnal dyspnea)
- เด็กทารก จะหายใจแรงและเร็วกว่าเด็กปกติอื่นๆ ดื่มนมได้น้อย เหนื่อยมากขึ้นเวลาดื่ม น้ำหนักขึ้นน้อย เลี้ยงไม่ค่อยโต มีประวัติติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนล่างบ่อยๆ
- การเจริญเติบโตชะลอลง หรือล้มเหลว เลี้ยงไม่โต เนื่องจากมีปัญหาในการดูดนม เด็กมีการเผาผลาญเพิ่มขึ้น
- ปัสสาวะน้อยลง บวม เลือดไปเลี้ยงไตได้น้อย เส้นเลือดตีบแคบ น้ำและเกลือคั่ง ทำให้น้ำหนักเพิ่มขึ้น หนังตาบวม หน้าบวม มือและเท้าบวม หรือบวมทั้งตัว
- ปอดบวมน้ำ มีหายใจเร็วหรือขัด ฟังปอดได้ยินเสียง crepitation
หอบ ไอเรื้อรัง ปอดบวมบ่อยๆ ถ้ามีอาการมากขึ้น จะเกิดหายใจขัด ปีกจมูกบานและเขียวได้ หัวใจเต้นแรง เหนื่อยง่าย เด็กเล็กจะหายใจแรง ขณะดูดนม และใช้เวลาดูดนมนานกว่าจะหมดขวด อาจสำลักหรืออาเจียนได้
- ชีพจรปลายมือ ปลายเท้าจะเบาลง แขนขาเย็นชื้น ผิวหนังเป็นสีเทา ๆ หรือซีด
การพยาบาล
- จัดให้นอน Fowler’s position โดยให้ศีรษะสูง 30 องศา หรือในเด็กเล็กให้นอนใน cardiac chair เพื่อลดการทำงานของหัวใจและเนื้อเยื่อต่างๆ ลดความต้องการออกซิเจน
- ให้ยาขับปัสสาวะ ลดปริมาณของเหลวในร่างกาย ป้องกันการเกิดปอดบวมน้ำและน้ำคั่งในร่างกายส่วนอื่นๆ ผลข้างเคียงของยาคือ Hypokalemia และ Metabolic acidosis และบอกถึงภาวะ Digitalis intoxication
3.จำกัดเกลือในอาหาร จำกัดน้ำดื่มและน้ำเข้าสู่ร่างกายทุกทางเพื่อลดเลือดที่จะไหลเวียนเข้าสู่หัวใจ และเป็นการลดความต้องการออกซิเจนของหัวใจ
- ให้ยา Digitalis เพื่อเป็นการเพิ่มแรงบีบของกล้ามเนื้อหัวใจ ทำให้ cardiac output เพิ่มขึ้น เลือดไป
สู่ไตเพิ่มขึ้น ทำให้ขับของเสียออกได้ง่าย ปริมาตรของเลือดลดลงได้
5.ให้ยาขับปัสสาวะ ลดปริมาณของเหลวในร่างกาย ป้องกันการเกิดปอดบวมน้ำและน้ำคั่งในร่างกายส่วนอื่นๆ ผลข้างเคียงของยาคือ Hypokalemia และ Metabolic acidosis และติดตาม serum electrolyte
- ให้ยาขยายหลอดเลือด ลดการบีบตัวของหลอดเลือดในอวัยวะต่างๆ เพื่อให้เลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆ ได้ดี และช่วยลดอาการบวม
- ให้ sympathominetic amines เช่น Isotroterenol, Norepinephrine และ Glugacon เมื่อเกิดCardiogenic shock
- ดูแลตามอาการ เช่น ให้ออกซิเจนและยาปฏิชีวนะ
การวินิจฉัย
-
-
- ฟังเสียงปอด ในผู้ป่วย HF มักจะมีpulmonary congention เช่น มี crepitation ร่วมด้วยมักจะบ่งภาวะน้ำเกิน
- การตรวจหน้าท้องตรวจพบ ตับโต
- การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (electrocardiogram), ภาพรังสีปอด (chest X-ray), และคลื่นเสียงสะท้อนหัวใจ (echocardiography)
- เงาหัวใจในเอกซเรย์ปอดกว้างขึ้น
-
สาเหตุ
- ความผิดปกติของหัวใจที่ทำให้หัวใจทำงานมากขึ้น
เนื่องจามีความดันในเวนตริเคิลสูงกว่าปกติ
- ความผิดปกติของหัวใจที่ทำให้หัวใจทำงานมากขึ้น
เนื่องจากมีปริมาถเลือดในหัวใจเพิ่มมากขึ้น
- ความผิดปกติของกลัมเนื้อของหัวใจ (myocardial factor) ทำให้ประสิทธิภาพในการทำงานของหัวใจลดลง
-
-
ความหมาย
ภาวะที่หัวใจไม่สามารถบีบตัวให้เลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกาย ได้อย่างเพียงพอต่อความต้องการ ในเด็กมักเกิดจากโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดโดยเฉพาะในวัยทารก และเด็กเล็ก อาจเกิดจากการที่กล้ามเนื้อหัวใจไม่แข็งแรง ลิ้นหัวใจต่างๆไม่ปกติ หรือจังหวะการเต้นของหัวใจผิดปกติไป
การรักษา
การเพิ่มแรงบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ ลดการทำงานของหัวใจ และเพื่อลดการคั่งของเลือดในระบบหลอดเลือดดำ (venous congestion)
พยาธิสภาพ
หัวใจมีการขยายโต มีพยาธิสภาพที่กล้ามเนื้อหัวใจ ปริมาณเลือดคั่ง และแรงดันเลือดสูงมากกว่าปกติ หัวใจเต้นเร็ว เพื่อเพิ่มปริมาณเลือดที่สูบฉีดไปให้เพียงพอกับความต้องการ ของเนื้อเยื่อร่างกาย ผลจากหัวใจสูบเลือดไปเลี้ยงร่างกายส่วนปลายไม่พอ ทำให้ชีพจรปลายมือ ปลายเท้าจะเบาลง เกิดหายใจขัด ปีกจมูกบานและเขียวได้ หัวใจเต้นแรง เหนื่อยง่าย เด็กเล็กจะหายใจแรง ขณะดูดนม และใช้เวลาดูดนมนานกว่าจะหมดขวด อาจสำลักหรืออาเจียนได้ มีอัตราเพิ่มของการเผาผลาญ และเพิ่มการทำงานของระบบประสาท
อัตโนมัติส่งผลให้หัวใจทำงานเพิ่มขึ้นและหัวใจวายได้