Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
PATHOPHYSIOLOGY OF RESPIRATORY SYSTEM พยาธิของระบบทางเดินหายใจ, FEV1/FVC…
PATHOPHYSIOLOGY OF RESPIRATORY SYSTEM
พยาธิของระบบทางเดินหายใจ
ANATOMY OF RESPIRATORY SYSTEM
ทางเดินหายใจส่วนบน (Upper Respiratory Tract )
จมูก (Nose)
คอหอย (Pharynx)
กล่องเสียง(Larynx)
ทางเดินหายใจส่วนล่าง (Lower Respiratory Tract)
หลอดลม(trachea, bronchi, bronchioles)
ปอด (Lungs)
ถุงลม (alveoli)
ทรวงอก (Thorax)
กระดูกซี่โครง (Ribs)
กล้ามเนื้อซี่โครง (Intercostal ribs)
กระบังลม (Diaphragm)
จมูก
จมูก เป็นส่วนที่ยื่นออกมาจากตรงกึ่งกลางของใบหน้า รูปร่างของจมูกมีลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยมพีระมิดติดกับหน้าผากระหว่างตาสองข้าง สันจมูกหรือดั้งจมูก ฐานของรูปสามเหลี่ยมวางปะมีรูปร่างและขนาดต่างๆกัน ยื่นตั้งแต่ฐานออกมาข้างนอกและลงข้างล่างมาสุดที่ปลายจมูกอีกด้านหนึ่งของรูปสามเหลี่ยมห้อยติดกับฐิมฝีปากบน รูจมูกเปิดออกสู่ภายนอกทางด้านนี้รูจมูกทำหน้าที่เป็นทางผ่านของอากาศที่หายใจเข้าไปยังช่องจมูกและกรองฝุ่นละอองด้วย
จมูกเป็นอวัยวะรับสัมผัสุที่สำคัญอย่างหนึ่งของร่างกายโดยทำหน้าที่รับกลิ่นของสิ่งที่อยู่รอบๆตัวเรา เช่นกลิ่นอาหาร กลิ่นดอกไม้ ฯลฯ นอกจากนี้ยังเป็นทางผ่านของอากาศที่เราหายใจอยู่ตลอดเวลา โดยทำหน้าที่กรองอากาศ ปรับอุณหภูมิและความชื้นของอากาศก่อนที่จะเข้าสู่ปอด คือ ถ้าอากาศเย็น จมูกจะปรับให้อุ่นขึ้น ถ้าอากาศแห้งมากจมูกจะให้อากาศชุ่มชื้น นอกจากนี้จมูกยังช่วยในการปรับเสียงที่เราพูดให้กังวานน่าฟังอีกด้วย
หลอดลม
หลอดลม (trachea) เป็นส่วนหนึ่งของระบบหายใจ มีหน้าที่หลัก คือ การนำส่งอากาศจากภายนอกร่างกายเข้าสู่ปอดเพื่อทำหน้าที่ในการแลกเปลี่ยนก๊าซออกชิเจนเข้าสู่เลือดและนำก๊าชคาร์บอนดูออกไซด์ออกจากร้างกาย หลอดลมของมนุษย์เริ่มตั้งแต่ส่วนที่ต่อจากกล่องเสียง
(Larynx) ลงไปสิ้นสุดที่ถุงลม
ถุงลม
ถุงลมปอด (Pulmonary alveoli) เป็นตำแหน่งที่มีการแลกเปลี่ยน gas ระหว่างอากาศกับเลือดโดยมีเนื้อเยื่อ (alveolarcapillary membrane) ที่กั้นกลาง ประกอบด้วย alveolar epithelium และ capillary endothelium ที่ตำแหน่งนี้เลือดดำจาก pulmonary artery จะนำ CO2 มาปล่อยเข้าถุงลม และรับ 02 จากถุงล้มเข้ามาก่อนที่จะถูกส่งกลับไปสู่หัวใจทาง pulmonary vein
กระบังลม
กระบังลม (Diaphragm) เป็นแผ่นกล้ามเนื้อขนาดใหญ่ที่อยู่ใต้ซี่โครง แบ่งเป็นกล้ามเนื้อสองชิ้นเรียกว่ากระบังลมด้านซ้ายและกระบังลมด้านขวาโดยที่กระบังลมจะเป็นตัวกั้นระหว่างช่องอกและช่องท้องในร่างกายของคนเรา โดยที่ช่องอกจะเป็นที่ตั้งของหัวใจ ปอดและซี่โครง ส่วนช่องท้องจะเป็นที่ตั้งของอวัยวะที่สำคัญจำนวนมาก เช่น กระเพาะอาหาร ตับ ตับอ่อน ม้าม ไต้ และลำไส้เป็นต้น
คอหอย, กล่องเสียง
คอหอย (อังกฤษ: pharynx, pharynges) เป็นส่วนหนึ่งของค่อ (neck) และช่องคอ(throat) ตั้งอยู่ด้านหลังปากและโพรงจมูก และอยู่บนหลอดอาหาร (rachea) หลังจากที่อาหารถูกเคี้ยวและผสมกับน้ำลายจนกล่องเสียงและท่อลมอ่อนนิ่มแล้วอาหารก็พร้อมที่จะถูกกลืนโดยลิ้นจนดันก้อนอาหาร(Bolus)ไปทางด้านหลังให้ลงสู่ช่องคอซึ่งจะมีผลให้เกิดรีเฟล็กซ์ (Reflex) ตามลำดับ
กล่องเสียง หรือ ลาริงซ์ (larynx) เป็นอวัยวะในคอของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมุที่ทำหน้าที่ในการป้องกันท่อลม (trachea) และการทำให้เกิดเสียงในกล่องเสียงมีสายเสี่ยงแท้หรือเส้นเสียงแท้ (vocal fold)ส่วนระบบหนึ่งอยู่ใต้บริเวณที่คอหอย (pharynx) ยกออกเป็นท่อลมและหลอดอาหาร (esophagus)
ปอด
ปอดเป็นอวัยวะในช่องอกอยู่ทางด้านซ้ายและด้านขวาของหัวใจ มีรูปร่างค่อนข้างเป็นทรงกรวยโดยมีด้านแคบอยู่ทางด้านบน ด้านล่างเป็นด้านกว้างมีส่วนเว้าที่สบเข้าพอดีกับส่วนนูนของกะบังลม บางส่วนของส่วนยอด (apex) ของปอดยื่นเข้าไปในฐานของคออยู่เหนือกระดูกซี่โครงอันที่หนึ่งด้านกระดูกสันอกอยู่เล็กน้อย ด้านหลังของปอดอยู่ใกล้กับกระดูกสันหลังและด้านหน้ากินพื้นที่ตั้งแต่อกลงมาจนถึงกะบังลม
กระดูกซี่โครง
กระดูกซี่โครง (ribs) เป็นส่วนหนึ่งของโครงกระดูกมนุษย์ที่อยู่ในบริเวณส่วนอก ซึ่งจะเชื่อมต่อระหว่างกระดูกสันหลังส่วนอก (Thoracic vertebral column) ทางด้านหลัง กับกระดูกอก (Sternum) ทางด้านหน้าและประกอบขึ้นเป็นโครงร่างของผนังช่องอกและช่วยในการป้องกันอวัยวะภายในของช่องอกที่สำคัญ เช่นปอดและหัวใจ โดยทั่วไปแล้วในผู้ใหญ่จะมีกระดูกซี่โครงทั้งหมด 12 คู่ หรือ 24 ชิ้น ทั้งในเพศหญิงและเพศชาย อย่างไรก็ตามในบางคนอาจมีจำนวนของกระดูกซี่โครงที่มากกว่าหรือน้อยกว่าปกติได้เล็กน้อย
พยาธิของระบบทางเดินหายใจ
โรคหอมหืด
โรคหอบหืด (asthma) เป็นโรคที่มีการอักเสบเรื้อรังของเยื่อบหลอดลมร่วมกับภาวะผิดปกติของหลอดลมที่ไวต่อสิ่งกระตุ้นต่างๆมากกว่าปกติ เมื่อผู้ป่วยสัมผัสกับสิ่งกระตุ้นกล้ามเนื้อบริเวณหลอดลมจะเกิดการหดเกร็งผนังหลอดลมบวมหนาขึ้นและสร้างสารคัดหลั่งหรือเสมหะมากขึ้นทำให้หลอดลมตีบแคบลง ผู้ป่วยจึงหายใจลำบากมีอาการเหนื่อยหอบ สมรรถภาพการทำงานของปอดลดลง ในรายที่อาการรุนแรงมากอาจเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิตได้ โรคหอบหืดเป็นโรคที่รักษาไม่หายขาดแต่สามารถควบคุมไม่ให้อาการกำเริบได้
ไอต่อเนื่องนาน 2-3 สัปดาห์ หายใจมีเสียงหวีด อาจมีอาการอื่นร่วมด้วย เช่น เหนื่อยหอบ แน่นหน้าอก หายใจไม่สะดวก หากอาการหนักอาจทำให้หายใจไม่ออกไม่สามารถรับออกชิเจนเข้าสู่ร่างกายได้และไม่สามารถนำคาร์บอนไดออกไซด้ออกจากร่างกายได้ เกิดระบบหายใจล้มเหลวจนถึงขั้นหมดสติและเสียชีวิตในที่สุด
โรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบ (Bronchitis) สามารถแบ่งได้เป็นชนิดเฉียบพลันและเรื้อรัง แต่ในชนิดที่จะกล่าวถึงนี้คือ โรคหลอดลุมอักเสบเฉียบพลัน (Acute Bronchitis) เป็นโรคทางระบบทางเดินหายใจที่เกิดจากการติดเชื้อที่หลอดลม หลอดลมในร่างกายมีขนาดใหญ่และจะแตกแขนงเป็นขนาดเล็กย่อยๆจนุกว่าจะถึงถุงลมปอด เกิดจากการติดเชื้อไวรัสและเชื้อแบคทีเรีย ทำให้เยื่อบุหลอดลมเกิดการอักเสบบวม ทำให้การไหลผ่านอากาศทำได้ไม่ดี พบบ่อยในช่วงฤดูฝนและฤดูหนาว พบผู้ติดเชื้อได้ทุกช่วงอายุ โรคหลอดลมอักเสบทำให้เกิดอาการไอมาก มีเสมหะ หายใจลำบาก การรักษามักใช้การรักษาประคับประคองตามอาการจนอาการหายดี
อาการของหลอดลมอักเสบ อาการอาจเริ่มต้นด้วยการเป็นหวัด ครั่นเนื้อครั่นตัว มีน้ำมูก แสบคอหากเริ่มรู้สึกแน่นหน้าอกพร้อมกับมีเสมหะในคอนั่นอาจเป็นอาการที่แสดูงของโรคหลอดลมอักเสบในและมีอาการไอเบื้องต้น
โรคปอดอุดกลั้นเรื้อรัง
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (Chronic obstructive pulmonary disease: COPD) เป็นกลุ่มโรคที่มีภาวะตึบแคบของทางเดินหายใจจะเกิดูมากขึ้นเรื่อยๆตามการดำเนินของโรค โดยทั่วไปมักหมายรวมถึงโรคหลอดลมอักูเสูบเรื้อรังและโรคถุงลูมปอดโป่งพอง ส่งผลให้การหายใจเพื่อแลกเปลี่ยนออกชิเจนทำได้ไม่ดีโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังเป็นโรคที่ไม่สามารถรักษาให้หายได้ ผู้ป่วยต้องใช้ชีวิตอยู่กับความเจ็บป่วยเรื้อรังจากอาการของโรคส่งผลกระทบต่อผู้ป่วยทั้งทางด้านร่างกายใจ จิตใจ สังคมและเศรษฐกิจ
อาการ
ผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังมักจะมีอาการหอบเหนื่อยรบกวนการทำกิจวัตรประจำวัน
ผู้ป่วยจะรู้สึกเหนื่อยแม้ออกแรงเพียงเล็กน้อย
ผู้ป่วยที่มีระดับความรุนแรงของปอดอุดกั้นเรื้อรังมากจะมีข้อจำกัดในการปฏิบัติกิจกรรมทางกายและส่งผลกระทบต่อการเสื่อมสมรรถภาพทางเพศและความต้องการทางเพศลดลง
นิยามศัพท์ (DEFINITION)
Clinical Presentation = อาการแสดง
Epidemiology
Risk Factors
vasodilation
productive cough
สรีระของระบบทางเดินหายใจ
การควบคุมการหายใจ
ตัวส่งสัญญาน Chemoreceptors มี 2 ตำแหน่ง
peripheral chemoreceptors = the carotid bodies ตอบสนองเมื่อระดับออกซิเจนในเลือดต่ำกว่า 60 mmHg
Central chemoreceptors = brainstem ตอบูสนองเมื่อระดับ PaCO2 สูงขึ้นโดยจะกระตุ้นทำให้เกิด Ventilation เมื่อปริมาตรปอด + ทรวงอกขยายจึงต้องเพิ่มเวลาการหายใจออก heregulation = Hering-Breuer reflex
คุณสมบัติคงที่ : การปฏิบัติตามข้อกำหนดและการหดตัวแบบยืดหยุ่น
โรคของปอด
Pulmonary fibrosis = CJ.
Ef Emphysema = Cf. EL.
โรคของ Surfactant
IRDS: Surface tension] = C] ส่งผลให้ work of breathing
โรคทรวงอก
โรคของกล้ามเนื้อและกระดูกสันหลัง
Ankylosing / Kyphosis, Scoliosis = C!
โรคของเยื่อหุ้มปอด Pneumothorax / hemothorax vhlv interplura pressuref = C!
ในสภาวะปกติทรวงอกและปอด ค่า Compliance ~Elastic recoil Compliance = ΔV/ ΔP Elastic recoil = ΔP/ ΔV (V =Volume, P=Pressure)
ปัจจัยที่มีผลต่อ Compliance
Elasticity of Lungs
Elasticity of Chest wall
Surfactant
การทดสอบการทำงานของปอด
forced expiratory volume in 1 second (FEV 1) = IC in 1 second forced vital capacity (FVC) = VC ค่าจะลดลงในผู้ป่วย obstructive lung disease, เพิ่มขึ้นใน restrictive lung disease
FEV1/FVC or FEV1%
ปริมาณและความสามารถของปอด
Tidal volume (vi) = ปริมาตรตากาศขณะหายใจเข้าออกแต่ละครั้ง
Inspiratory reserve volume (IRV) = ปริมาตร์ยากาศที่เพิ่มขึ้นได้สูงสุดขณะพยายามทายใจเข้า
Inspiratory capacity (IC) = ปริมาตรอากาศทั้งหมดที่สามารถหายใจเข้าได้ใน 1 ครั้ง
expiratory reserve volume (ERV) = ปริมาตรยากาศที่หายใจออกเพิ่มได้สูงสุดขณะพยายามหายใจออก
Residual volume (RV) = ปริมาตรยากาศคงเหลือในปอดขณะหายใจเข้าออกแต่ละครั้ง
Functional residual capacity (FRC) = ปริมาณแก็สคงค้างในปอดขณะหายใจ
vital capacity (VC) = ปริมาตรอากาศหายใจออกได้หลังหายใจเข้าสูงสุด
total lung capacity (TC) = ปริมาตรความจุของปอด
นิยามศัพท์ (DEFINITION)
Volumes = ปริมาตร Capacities = ปริมาตรที่สามารถจุได้
Elastic recal = ความสามารถการคืนตัวกลับสู่รูปร่าง
Dead space = ส่วนที่ไม่มีการแลกเปลี่ยนแก๊ส
Ventilation = การไหลเวียนอากาศ
Perfusion = การไหลเวียนโลหิตปกติ
Compliance = ความสามารถในการขยายตัว
Pressure = แรงดัน
hermoglobin saturation (SO2) = อัตราส่วนของ
hemoglobin ที่จับกับ 02 ต่อปริมาณ 02 ทั้งหมด
นางสาวนพมาศ แสนทวีสุข
UDA6380038
FEV1/FVC or FEV1%