Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคข้อเข่าเสื่อม, image, image, image, image, image, image, image, image,…
โรคข้อเข่าเสื่อม
การตรวจร่างกาย
น้ำหนัก ส่วนสูง ดัชมวลร่างกาย (Body Mass Index, BMI)
-
-
-
-
-
-
-
-
-
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
- ซักประวัติและตรวจร่างกายโดยเน้นที่การตรวจข้อเข่าซึ่งอาจจะพบลักษณะที่สำคัญคือข้อบวมหรือขนาดข้อใหญ่และมีการงอของข้อเข่า
- การถ่ายภาพรังสีก็จะพบว่าช่องว่างระหว่างกระดูกเข่าแคบลงซึ่งหมายถึงกระดูกอ่อนมีการสึกหรอหากสึกมากก็ไม่พบช่องว่างดังกล่าว
- การเจาะเลือดการเจาะเลือดเพื่อวินิจฉัยแยกโรคที่อาจจะเป็นสาเหตุของโรคปวดเข่าเรื้อรังเช่นโรคเกาต์หรือโรครูมาตอยด์
- การตรวจน้ำหล่อเลี้ยงเข่าในกรณีที่เข่าบวมแพทย์จะเยาะเอาน้ำหล่อเลี้ยงเข่าออกมาตรวจด้วยกล้องจุลทัศน์
- การตรวจความหนาแน่นของกระดูกเป็นการตรวจหาโรคกระดูกพรุน
-
- ไม่สุขสบายเนื่องจากมีอาการเจ็บปวดบริเวณข้อที่มีพยาธิสภาพ
- การเคลื่อนไหวของข้อได้น้อยเนื่องจากกล้ามเนื้ออ่อนแรง
- มีความวิตกกังวลเกี่ยวกับภาพลักษณ์ที่เปลี่ยนไปเนื่องจากขาดความรู้เกี่ยวกับโรคและการรักษาพยาบาล
-
-
การพยาบาล
- ให้ข้อที่อักเสบได้พักมาก ๆ โดยอาจจะจํากัดเรื่องการเคลื่อนไหวข้อที่อักเสบรุนแรงและมีอาการปวด
- ดูแลให้ผู้ป่วยใช้เครื่องกายอุปกรณ์อย่างถูกต้องและเวลาที่ใส่อย่างเหมาะสมเช่นใส่เมื่อท่างานหรือเดินทาง
- ประคบด้วยความร้อนที่บริเวณข้อที่ปวดเพื่อให้กล้ามเนื้อคลายตัวและหลังการประคบควรดูแลให้ผู้ป่วยได้มีการบริหารกล้ามเนื้อและข้อ
- ควรหลีกเลี่ยงอากาศที่เย็นในที่มีอากาศเย็นควรใส่ถุงมือเพื่อความอบอุ่น
- ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาบรรเทาอาการปวดและยาต้านการอักเสบตามแผนการรักษาพร้อมทั้งสังเกตอาการข้างเคียงของยา
-
โครงสร้างของข้อเข่า
- กระดูกต้นขาหรือทางการแพทย์เรียกว่ากระดูก femur ซึ่งเป็นกระดูกส่วนบนของเข่า
- กระดูกหน้าแข็งทางการแพทย์เรียก tibia ซึ่งเป็นกระดูกส่วนล่างของข้อเข่า
- กระดูกลูกสะบ้าทางการแพทย์เรียก patella ซึ่งอยู่ด้านหน้าของเข่า
อาการที่สำคัญ
-
อาการข้อฝืด
อาจพบอาการเกิดขึ้นชั่วคราวในท่างอหรือท่าเหยียดในช่วงแรกซึ่งเรียกอาการนี้ว่า ปรากฏการณ์ข้อฝืด (gellingphenomena)เมื่อมีการอักเสบเรื้อรังร่วมกับมีการหดตัวของเยื่อรอบข้อ
-
การตรวจทางห้องปฏิบิตัการ
-
การตรวจของเหลวในข้อ ส่วนใหญ่ไม่พบความผิดปกติจำนวนเม็ดเลือดขาวในของเหลวในข้ออยู่ในเกณฑ์ปกติ (0-200 เซลล์/ลบ.มม.)
การตรวจภาพรังสี
plain film, การเปลี่ยนแปลงทางภาพรังสี ขึ้นอยู่กับพยาะธิสภาพที่เกิดขึ้น
-
-
การรักษา
- การรักษาด้วยวิธีประคัประคอง(conservativetreatment) หรือการรักษาโดยไม่ใช้ยา(non-pharmacological treatment)
-
-
-
-
-
-
-
- การรักษาด้วยการใช้ยา (pharmacological treatment)
-
-
- การรักษาด้วยการผ่าตัด (operative treatment)
-
-
-
-
ชนิดของโรคข้อเข่าเสื่อม
- โรคข้อเข่าเสื่อมชนิดปฐมภูมิ
(primary osteoarthritis of knee)
อายุ
พบว่าผู้ที่มีอายุ 40 ปี จะเริ่มเป็นโรคข้อเข่าเสื่อม และเมื่ออายุ60 ปีจะเป็นโรคข้อเข่าเสื่อมได้ถึงร้อยละ 40
-
-
-
-
-
- โรคข้อเข่าเสื่อมชนิดทุติยภูมิ
(secondary osteoarthritis of knee)
-
พยาธิสภาพของโรค
เมื่อเกิดเข่าเสื่อมมากขึ้นกระดูกอ่อน (Cartilage) จะมีขนาดบางลงผิวจะขรุขระจะมีการงอกของกระดูกขึ้นมาที่เรียกว่า Osteophytes เมื่อมีการอักเสบเยื่อหุ้มข้อก็จะสร้างน้ำหล่อเลี้ยงข้อเพิ่มขึ้นทำให้ข้อเข่ามีขนาดใหญ่เอ็นรอบข้อจะมีขนาดใหญ่ขึ้นกล้ามเนื้อจะล็บลงการเปลี่ยนแปลงของข้อจะเป็นไปอย่างช้าๆโดยที่ผู้ป่วยไม่ทราบโดยในรายที่รุนแรงกระดูกอ่อนจะบางมากปลายกระดูกจะมาช่นกันเวลาขยับข้อก็จะเกิดเสียงเสียดสีในข้อ
การที่กระดูกอ่อนของข้อมีการเสื่อมสภาพทำให้กระดูกอ่อนไม่สามารถรองรับน้ำหนักและมีการสูญเสียคุณสมบัติของน้ำหล่อเลี้ยงเข่าเมื่อมีการเคลื่อนไหวของเขาก็จะเกิดการเสียดสีและเกิดการสึกหรอของกระดูกอ่อนผิวของกระดูกอ่อนจะแข็งไม่เรียบเมื่อมีการเสื่อมของข้อเข่ามากขึ้นข้อเข่าก็อาจจะมีการโก่งงอทำให้ดกิดอาการปวดเท่าทุกครั้งที่มีการเคลื่อนไหว
หมายถึง
ภาวะที่ข้อเกิดความผิดปกติเนื่องจากสภาพร่างกายที่เปลี่ยนแปลงแบบถดถอย ซึ่งสัมพันธ์โดยตรงกับอายุที่มากขึ้น
กลไกการเกิดข้อเข่าเสื่อม
การที่กระดูกอ่อนของข้อมีการเสื่อมสภาพทำให้กระดูกอ่อนไม่สามารถเป็นเบาะรองรับน้ำหนัก และมีการสูญเสียคุณสมบัติของ น้ำ หล่อเลี้ยงเข่า เมื่อมีการเคลื่อนไหวของเข่าก็จะเกิดการเสียดสีและเกิดการสึกหรอของกระดูก อ่อน ผิวของกระดูกอ่อนจะแข็งผิวไม่เรียบ เมื่อเคลื่อนไหวข้อเข่าก็จะเกิดเสียงดังในข้อเกิดอาการเจ็บปวด หาก ข้อเข่าที่เสื่อมมีการอักเสบก็จะมีการสร้างน้ำข้อเข่าเพิ่มทำให้เกิดอาการ บวม ตึงและปวดของข้อเข่า เมื่อมีการเสื่อมของข้อเข่ามากขึ้นข้อเข่าก็จะมีอาการโก่งงอทำให้เกิดอาการ ปวดเข่าทุกครั้งที่มีการเคลื่อนไหว และขนาดของข้อเข่าก็จะมีขนาดใหญ่ขึ้น ในที่สุดผู้ป่วยต้องใช้เท่าช่วยเดินหรือบางคนจะเดินน้อยลงทำให้กล้ามเนื้อ ต้นขาลีบลงข้อจะติดเหมือนมีสนิมเกาะเหยียดขาได้ไม่สุด
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-