Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวัดและการประผลการเรียน - Coggle Diagram
การวัดและการประผลการเรียน
หน่วยที่1 แนคิด หลักการ และปฎิบัติในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
องค์ประกอบของของการประเมินผล
องค์ประกอบของการประเมิน
ข้อมูล(ที่ได้จากการวัด)
เกณฑ์
การตัดสินคุณค่า/การตัดสินใจ
องค์ประกอบของการวัด
ปัญหาหรือสิ่งที่จะวัด
เครื่องมือที่ใช้วัด
ข้อมูลที่ได้จากการวัด
ขอบข่ายในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
หลักการในการวัดผลการศึกษาประกอบด้วย
กำหนดจุดประสงค์ของการวัดและประเมินผลให้ชัดเจนว่าต้องการวัดอะไร
เลือกใช้วิธีการวัดให้เหมาะสม/เครื่องมือมีคุณภาพ
เลือกใช้วิธีการวัด/เครื่องมือที่หลากหลาย
เลือกตัวแทนของสิ่งที่จะวัดให้เหมาะสม
ใช้ผลจากการวัดให้คุ้มค่า เพื่อค้นหาและพัฒนาผู้เรียน
มีความยุติธรรม
ดำเนินการสอบที่มีคุณภาพ
กระบวนการวัดและประเมินผลทางการศึกษา
กำหนดวัตถุประสงค์
หนดวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
สร้างเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
ทดสอบและเก็บรวบรวมข้อมูล
จัดกระทำข้อมูล
ตัดสินผลการเรียน
ธรรมชาติของการวัดการศึกษา
การวัดผลการศึกษาเป็นการวัดที่ไม่สมบูรณ์
การวัดผลการศึกษาเป็นการวัดทางอ้อม
การวัดผลการศึกษามีความคลาดเคลื่อน
การวัดผลการศึกษาเป็นการวัดเชิงสัมพันธ์
การวัดผลการศึกษาเป็นการวัดที่ไม่มีศูนย์แท้หรือศูนย์สมบูรณ์
ความสัมพันธ์ระหว่างการวัดและประเมินผลกับกระบวนการเรียนการสอน
การวัดและการประเมินผลมีความสัมพันธ์กับกระบวนการเรียนการสอนเนื่องจากเมื่อครูผู้สอนได้ทำการสอนนักเรียนแล้วประเมินผลพัฒนาการของผู้เรียนโดยใช้เครื่องมือที่หลากหลาย และผลที่ได้จากการประเมินนำไปใช้ปรับปรุงแก้ไขการจัดกระบวนการเรียนการสอนครั้งต่อไปเพื่อส่งเสริมจุดเด่นของผู้เรียนและพัฒนาจุดด้อย
องค์ประกอบในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
จุดประสงค์การเรียนรู้
กิจกรรมการเรียนการสอน
การวัดและประเมินผล
จุดมุ่งหมายของการวัดผการศึกษา
ค้นหาและพัฒนาสมรรถภาพของผู้เรียน
หาจุดบกพร่องของนักเรียนที่มีปัญหา เพื่อหาทางช่วยเหลือนักเรียนและช่วยสอนเสริมนักเรียนได้
วินิจฉัย
ทำการวัดและประเมินหาว่านักเรียนไม่เข้าใจเรื่องใด เพื่อปรับปรุงกิจกรรมการเรียนการสอน
จัดอันดับหรือตำแหน่ง
จัดอันดับความสามารถของผู้เรียนในกลุ่มเดียวกันว่าใครเก่งใครอ่อน ผ่าน-ไม่ผ่าน
เปรียบเทียบหรือทำให้ทราบพัฒนาการของผู้เรียน
เปรียบเทียบความสามารถของนักเรียนว่ามีพัฒนาการเพิ่มขึ้นเพียงใด
พยากรณ์
วัดและประเมินผลการศึกษาเพื่อนำผลไปคาดคะเนความถนัดของผู้เรียน
ประเมิน
การวัดและประเมินผลการศึกษาเพื่อตัดสินใจสรุปคุณภาพของการจัดการศึกษา ควรปรับปรุงหลักสูตรหรือไม่
หน่วยที่ 5 เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลในศตวรรษที่ 21
วัดทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 อย่างไร
การวัดความรู้ความสามารถ
การวัดตามประเภททักษะ
การปฏิบัติการวัดประเภทเจตคติสภาพต่อการทำงาน
แนวทางการวัดและประเมินทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ประการแรก คือ การวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาผู้เรียน
ประการที่สอง คือ การวัดและประเมินผลเพื่อตัดสินผลการเรียน
จุดเน้นของการวัดและประเมินทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
สมดุลในการประเมินเชิงคุณภาพ
การนำประโยชน์ของผลสะท้อนจากการปฏิบัติของผู้เรียนมาปรับปรุงแก้ไข
ใช้เทคโนโลยีเพื่อยกระดับการทดสอบวัดและประเมินผลให้เกิดประสิทธิภาพสูง
สร้างและพัฒนาระบบแฟ้มสะสมผลงานผู้เรียนให้เป็นมาตรฐานและมีคุณภาพ
วิธีการวัดและประเมินผลทักษะในศตวรรษที่ 21
การประเมินด้วยการสื่อสารส่วนบุคคล
การประเมินจากการปฏิบัติ
การประเมินตามสภาพจริง
การประเมินด้วยแฟ้มสะสมผลงาน
ขั้นตอนในการดำเนินการวัดผลจากสภาพจริง
กำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้
กำหนดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบสร้างเครื่องมือวัดและประเมินผล
เก็บรวบรวมข้อมูลและใช้ผลการวัดและประเมินเพื่อใช้ในการพัฒนาการเรียน
หน่วยที่ 4 เครื่องมือที่ใช้ในการวัด
เครื่องมืองในการวัดพฤติกรรมทางการศึกษา
ตรวจสอบรายการ
มาตราส่วนประมาณค่า
แบบวัดเชิงสถานการณ์
การสังเกต
การสัมภาษณ์
แบบสอบถาม
การวัดภาคปฏิบัติ
2 more items...
ข้อดี คือ สะดวกและสามารถใช้ได้อย่างกว้างขวาง ถามได้ทั้งข้อมูลในปัจจุบัน อดีต หรืออนาคต
ข้อเสีย คือ ส่วนใหญ่นิยมใช้วัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
ข้อดี คือ นอกจากจะได้ข้อมูลตามต้องการแล้วยังช่วยให้ทราบข้อเท็จจริงของผู้ถูกสัมภาษณ์ในด้านบุคลิกภาพอีกด้วย
ข้อเสีย คือ ผู้สัมภาษณ์จะต้องเตรียมความพร้อม ใช้เวลานานพอสมควร และต้องเลือกใช้แบบการสัมภาษณ์ให้เหมาะสม
ข้อเสีย คือ ครูผู้สอนไม่สามารถสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนได้ทุกคนหรือสามารถสังเกตหลาย ๆพฤติกรรมของผู้เรียนได้
ข้อดี คือ วัดพฤติกรรมทางการศึกษาในด้านทักษะพิสัย/และด้านจิตพิสัย ได้อย่างชัดเจน
ข้อดี คือ จะสามารถวัดพฤติกรรมของผู้เรียนในระดับสูงได้ทั้งพฤติกรรมในด้านพุทธิพิสัยจิตพิสัยเร้าใจให้ผู้สอบติดตามคำถามสร้างความยุติธรรมให้กับผู้ตอบแต่ละคนเพราะแต่ละคนจะได้รับสถานการณ์เดียวกันหมด
ข้อเสีย คือ ครู/ผู้สร้างแบบวัดเชิงสถานการณ์จะต้องมีความรู้ความสามารถในการสร้างแบบวัดแล้วนำมาผนวกกับเงื่อนไขที่เป็นไปตามเนื้อหาที่ได้สอนผู้เรียนไป ดังนั้นการสร้างแบบวัดเชิงพฤติกรรมนี้จะทำได้ยาก และกำหนดเกณฑ์ให้คะแนนยาก
ข้อเสียและข้อควรระวัง คือ คำถามต้องชัดเจน
ข้อดี คือ ครูผู้สอนจะได้ระดับของพฤติกรรมของผู้เรียนว่ามีมากน้อยเพียงใด และสามารถนำมาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ที่กำหนดไว้ได้ และนำเอาระดับพฤติกรรมนั้นไปเป็นข้อมูลพื้นฐานในการปรับปรุงผู้เรียนต่อไป
ข้อเสีย คือ พฤติกรรมหรือคุณลักษณะของผู้เรียนที่ต่อวันนั้นต้องชัดเจน มิเช่นนั้นจะทำให้สื่อความหมายไม่ตรงกัน และผู้ว่าจะต้องมีโอกาสคลุกคลีกับผู้เรียนมากพอสมควรจึงจะสามารถให้ข้อมูลได้ตรงกับพฤติกรรมของผู้เรียน
ข้อดีคือ ง่ายต่อการใช้และสามารถนำไปใช้วัดพฤติกรรมทางการศึกษาด้านจิตพิสัยและด้านทักษะพิสัยร่วมกับการสังเกตได้
สรุป
เครื่องมือวัดพฤติกรรมทางการศึกษาที่กล่าวมาแล้วนั้น เป็นตัวช่วยสำคัญให้กับครูผู้สอนในการวัดพฤติกรรมทางการศึกษาตามจุดประสงค์การเรียนรู้ของการเรียนการสอนในแต่ละรายวิชาซึ่งแบ่งเป็น 3 ด้านคือ พุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัย เครื่องมือหรือเทคนิคที่ใช้ในการวัดพฤติกรรมทางการศึกษามีหลายชนิดมีลักษณะการใช้แตกต่างกันตามโอกาสหรือสถานการณ์ การที่มีเครื่องมือวัดผลหรือเทคนิคหลายชนิดเช่นนี้เพื่อช่วยให้การวัดครอบคลุมพฤติกรรมทางการศึกษา ตั้งนานครูผู้สอนจะต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเครื่องมือที่ใช้ในการวัดพฤติกรรมทางการศึกษา และสามารถเลือกใช้เครื่องมือวัดพฤติกรรมได้ถูกต้อง
หน่วยที่ 6 แนวทางการวัดและประเมินสำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษทางการศึกษา
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ
เพื่อประเมินความรู้ความสามารถพื้นฐานความต้องการจำเป็นพิเศษเพื่อวางแผนการจัดการเรียนรู้
ประเมินพัฒนาการและผลการเรียนรู้ของนักเรียนระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ตัดสินผลการเรียน เมื่อจบหน่วยการเรียนรู้หรือจบรายวิชาตามมาตรฐานและตัวชี้วัดในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
ประเมินความรู้และความสามารถพื้นฐานของนักเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษาในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ทักษะการเรียนรู้
วางแผนการการศึกษาเฉพาะบุคคล( IEP)
ประเมินควรตรวจสอบหรือประเมินความสามารถพื้นฐานจากสภาพจริงในหลายๆสถานการณ์ให้ครอบคลุม
เปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความรู้ความสามารถด้วยวิธีการที่หลากหลาย โดยคำนึงถึงศักยภาพและความสามารถของนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษทางการศึกษา
การจัดทำแผนการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) ควรให้สอดคล้องตามมาตรฐานและตัวชี้วัดในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
แนวปฏิบัติในการและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การประเมินผลการเรียนสาระการเรียนรู้
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน
การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ไม่เหมาะกับกับนักเรียนที่มีความการจำเป็นพิเศษทางการศึกษาที่เรียนรวมอยู่ด้วย
ไม่ยืดหยุ่นมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด การจัดกิจกรรมการเรียนรู้และประเมินผลไม่สอดคล้องกับพัฒนาการและศักยภาพผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ
แนวทางการวัดและประเมิน
การประเมินพัฒนาการและผลการของนักเรียน
การประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียน
วัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้(หลากหลาย จากแหล่งความรู้หลาย)
เป็นการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ( คำนึงถึงสิ่งที่เป็นข้อจำกัดที่เกี่ยวข้องและเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาความต่างด้านการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน)
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ความหมายของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
กลุ่มเด็กที่มีความบกพร่องทางการศึกษา 9 ประการ
กลุ่มเด็กที่มีความสามารถพิเศษ
กลุ่มเด็กด้อยโอกาส
เกณฑ์ในการวัดและประเมิน
การตัดสินผลการเรียนผล
ทำให้ระดับผลการเรียน
การเลื่อนชั้นแปรงฟัน
การเรียนซ้ำชั้น
การสอนซ่อมเสริม
เกณฑ์การจบการศึกษา
การรายงานผลการเรียน
หน่วยที่ 3 การประเมินตามสภาพจริง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริง
เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาผู้เรียนให้เต็มตามศักยภาพที่มีด้วยการใช้กิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลาย การวัดและประเมินผลการศึกษาจึงควรต้องดำเนินการให้ครบทั้ง 3 ด้าน คือด้านพุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัย
ความหมายของการประเมินตามสภาพจริง
หมายถึง การประเมินการเรียนรู้ของผู้เรียนจากพฤติกรรม กระบวนการทำงานและผลงาน ในบริบทของการเรียนการสอนตามบริบทสังคมชุมชนของผู้เรียนและ และเป็นเครื่องมือวัดสมรรถนะของผู้เรียนที่เรียนรู้ซึ่งแสดงออกโดยการกระทำหรือแลกเปลี่ยนความรู้กับผู้อื่น
คนลักษณะการประเมินตามสภาพจริง
งานที่ปฏิบัติเป็นงานที่มีความหมาย คือ สอดคล้องกับชีวิตประจำวัน
เป็นการประเมินรอบด้านด้วยวิธีการที่หลากหลาย
ผลผลิตมีคุณภาพ
ใช้ความคิดระดับสูง
มีปฏิสัมพันธ์ทางบวก
มีการกำหนดจำนวนงานขอบเขตและมาตรฐานอย่างชัดเจนและสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของการเรียนรู้
สะท้อนลักษณะเฉพาะตัวของผู้เรียน
เป็นการประเมินอย่างต่อเนื่อง
1เป็นการบูรณาการองค์ความรู้
เครื่องมือในการประเมินตามสภาพจริง
การสังเกต
แบบสำรวจรายการ
วัดพฤติกรรมที่ลงมือปฏิบัติแล้วสังเกตความสามารถและร่องรอยของการปฏิบัติ
ระเบียบพฤติกรรม
แบบมาตราส่วนประเมินค่า
วัดกิจกรรมที่เป็นลักษณะนิสัยและความรู้สึก
การสอบถาม
การสอบถาม
ใช้วัดความต้องการ ความสนใจ ที่แสดงความรู้สึกได้อย่างอิสระ
การทดสอบ
แบบเขียนตอบ
ทดสอบทักษะ ความรู้ต่าง ๆ ที่ต้องการทราบ
แบบทดสอบปฏิบัติจริง
กิจกรรมที่ไม่อาจสังเกตได้ทุกเวลาและอย่างทั่วถึง รวมทั้งพฤติกรรมบางอย่างที่จะเกิดขึ้นได้ต้องอาศัยเงื่อนไขและสภาพแวดล้อมที่เหมาสม
การสัมภาษณ์
แบบการสัมภาษณ์
สอบถามเพื่อให้ทราบถึงความรู้สึก ความคิด ความเชื่อ และการกระทำด้านต่างๆ
แฟ้มสะสมผลงาน
กิจกรรมที่ทำเป็นชิ้นงานออกมา อาจเป็นรายงาน แบบบันทึก เทปบันทึกเสียง
2.พฤติกรรมทางการศึกษา
พฤติกรรมพุทธิพิสัย : K
บลูมและคณะได้ร่วมกันจัดจำแนกออกเป็น 6 ระดับ ดังนี้
ความรู้
ความเข้าใจ
การนำไปใช้
การวิเคราะห์
การสังเคราะห์
การประเมินค่า
เป็นพฤติกรรมของสมอง ในการจำและเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องราว เหตุการณ์ คำศัพท์ สัญลักษณ์ เนื้อหาความรู้ สูตร กฎ ทฤษฎี ขั้นตอน วิธีการ ฯลฯ
พฤติกรรมจิตพิสัย : P
แครทโฮว์ จำแนกเป็นลำดำขั้นของการเกิดพฤติกรรม 5 ขั้นดังนี้
1.ขั้นรับรู้
ขั้นแรกที่เริ่มจากการที่บุคคลรับรู้สิ่งเร้า หรือปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่กระทบประสาทสัมผัสต่างๆจนเกิดความรู้สึกสนใจสิ่งนั้น
2.ขั้นตอบสนอง
พฤติกรรมตอบสนองต่อสิ่งเร้าในลักษณะที่เต็มใจหรือไม่เต็มใจยินดีพอใจหรือไม่ยินดีพอใจ
3.ขั้นเห็นคุณค่า หรือ สร้างค่านิยม
ตอบสนองต่อสิ่งเร้าในลักษณะเต็มใจยินดีพอใจแล้วก็เกิดเหตุคุณค่าของสิ่งนั้น
4.ขั้นจัดระบบค่านิยม
จัดลำดับความสำคัญของค่านิยมสัมพันธ์เชื่อมโยงค่านิยมที่เกี่ยวข้องกันกลายเป็นปกติหรือแนวทางการปฏิบัติ
5.ขั้นสร้างลักษณะนิสัยจากค่านิยม
พัฒนาบุคลิกภาพหรือลักษณะวิสัยของบุคคลให้เป็นรูปแบบที่ชัดเจนซึ่งอาจจะอยู่ในระดับที่ปรับลักษณะนิสัยให้สอดคล้องกับความคาดหวังของสังคม
เป็นพฤติกรรมในการใช้สติปัญญาในการคิดแก้ปัญหา แสวงหาความรู้ รวมถึงทักษะการปฏิบัติงานหรือกิจกรรม
พฤติกรรมทักษะพิสัย : A
พฤติกรรมทางจิตใจ เช่น ความรู้สึก ความคิดเห็น ความเชื่อ ค่านิยม คุณธรรม จริยธรรม ฯลฯ
ซิมพ์สัน ได้จำแนกไว้ 7 ขั้นดังนี้
การรับรู้
เป็นจุดเริ่มต้นของการเกิดพฤติกรรมด้ านการรับสัมผัสสิ่งเร้าผ่านทางประสาทสัมผัสต่าง ๆ
การเตรียมความพร้อม
การเตรียมตัวกระทำหรือการปรับตัวให้อยู่ในสภาพพร้อมที่จะกระทำ
การตอบสนองตามแนวชี้แนะ
การพัฒนาทักษะโดยการแสดงพฤติกรรมเลียนแบบตามผู้แนะนำหรือครู
การปฏิบัติได้ด้วยตนเอง
การที่บุคคลสามารถปฏิบัติงานได้ ด้วยความเชื่อมั่นในตนเอง
การตอบสนองที่ซับซ้อน
เป็นขั้นที่สามารถกระทำหรือปฏิบัติงานที่ซับซ้อนได้ แม้จะต้องใช้ทักษะขั้นสูงก็สามารถทำได้อย่างชำนาญ
การดัดแปลง
พัฒนาวิธีการเดิมให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เพื่อลดขั้นตอน ลดเวลา หรือเพิ่มคุณภาพผลงาน
การริเริ่ม
สามารถสร้างสรรค์ผลงานใหม่ ด้วยวิธีการใหม่ที่ตนคิดขึ้นมา โดยใช้สติปัญญาร่วมกับประสบการณ์ด้านทักษะ