Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบการเรียนการสอน - Coggle Diagram
ระบบการเรียนการสอน
3) ตัวอย่างระบบการเรียนการสอน
3.1) ระบบการเรียนการสอนของไทเลอร์ (robert tyler)
องค์ประกอบของระบบการเรียนการสอน
จุดมุ่งหมายของการเรียนการสอน
กิจกรรมการเรียนการสอน
การประเมินผลการเรียนการสอน
3.2) ระบบการเรียนการสอนของเกลเซอร์ (glaser)
มีความคล้ายคลึกกับระบบของไทเลอร์มาก
องค์ประกอบ
จุดประสงค์ของการสอน
การประเมินสถานะของผู้เรียนก่อนสอน
การจัดกระบวนการเรียนการสอน
การประเมินผลการเรียนการสอน
ข้อมูลป้อนกลับ
3.3) กระบวนการเรียนรู้ของคาร์รอล (carroll)
องค์ประกอบ
ความพยายามในการเรียน
เวลาที่ใช่ในการเรียนการสอน
ความสามารถในการเข้าใจ
คุณภาพการเรียนการสอนของครู
ความถนัดทางการเรียน
3.4) ระบบการเรียนการสอนของเกอร์ลัคและอิลาย (Gerlach and Ely)
ขั้นตอนการจัดการเรียนการสอน
การประเมินพฤติกรรมก่อนการเรียน
การกำหนดกลยุทธ์ของวิธีการสอน
การเลือกเนื้อหาวิชา
การประเมินผลการเรียน
การกำหนดวัตถุประสงค์
การวิเคาระห์ข้อมูลเพื่อป้อนกลับไปใช้ในการปรับปรุงส่วนต่าง ๆ ของระบบ
3.5) ระบบการเรียนการสอนของคลอสไมเออร์ เเละริปเปิล (Klausmeier & Ripple)
องค์ประกอบ
4) การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
5) การดำเนินการสอน
3) การจัดเนื้อหาวิชา วัสดุ อุปกรณ์และเครื่องมือต่าง ๆ
6) การวัดและประเมินผลการเรียนการสอน
2) การพิจารณาความพร้อมของผู้เรียน
7) สัมฤทธิ์ผลของนักเรียน
1) การกำหนดจุดมุ่งหมายของการเรียนการสอน
3.6) ระบบการออกแบบการเรียนการสอนของเคมพ์ (Kemp)
องค์ประกอบ
5) ทดสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถก่อนที่จะทำการสอน
6) เลือกกิจกรรมและแหล่งวิชาการสำหรับการเรียนการสอนเพื่อจะนำเนื้อหาวิชาไปสู่จุดหมายปลายทางที่วางไว้
4) กำหนดเนื้อหาวิชาที่สนับสนุนวัตถุประสงค์ในแต่ละข้อ
7) ประสานงานในเรื่องต่าง ๆ เช่น การเงิน บุคลากร อาคาราร สถานที่ เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ และดำเนินการไปตามแผนการที่กำหนดไว้
3) ระบุจุดมุ่งหมายของการสอนในเชิงพฤติกรรม
8) ประเมินผลการเรียนของผู้เรียนว่าบรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้เพียงใด
2) ศึกษาคุณลักษณะของผู้เรียน
9) พิจารณาดูว่าควรจะได้มีการแก้ไขปรับปรุงแผนการเรียนการสอนให้ดีขึ้นอย่างไร
1) กำหนดหัวข้อที่จะสอนและเขียนวัตถุประสงค์ทั่วไป
3.7) ระบบการเรียนการสอนของกานเยเเละบริกส์ (Gagne and Briggs)
การออกเเบบการเรียนการสอน
ระดับระบบ
1) วิเคราะห์ความต้องการเป้าหมายและจัดลำดับความสำคัญ
2) วิเคราะห์แหล่งทรัพยากร อุปสรรคและข้อจํากัดต่าง ๆ
3) กำหนดขอบข่ายของหลักสูตรและรายวิชาต่าง ๆ
ระดับรายวิชา
4) กำหนดโครงสร้างของรายวิชา
5) วิเคราะห์จุดมุ่งหมายของรายวิชา
ระดับชั้นเรียน
10) การเตรียมครู
13) การประเมินผลเพื่อตัดสิน
14) การจัดระบบและเผยแพร่ระบบ
11) การประเมินผลเพื่อการปรับปรุง
12) การทดสอบ การปรับปรุง
ระดับบทเรียน
7) จัดเตรียมแผนการสอนหรือโมดูล (ชุดการสอน)
9) วัดและประเมินผล
8) เลือกและจัดทำสือและวัสดุการเรียนการสอน
6) ระบุวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
3.8) ระบบการจัดการเรียนการสอนเเผนจุฬา ฯ โดย ชัยยงค์ พรหมวงศ์
ประกอบด้วยขั้นตอนสำคัญ 10 ขั้นตอน คือ
4) มโนทัศน์เเละหลักการ
มโนทัศน์หลัก
มโนทัศน์ย่อย
5)วัตถุประสงค์
ทั่วไป
เชิงพฤติกรรม
7) การประเมินผล
การปฏิบัติกิจกรรม
การทดสอบหลังเรียน
3) หัวเรื่อง
8)สื่อการสอน
9) หาประสิทธิภาพ
1) วิชา
10) นำไปใช้
10.2 ขั้นนำ
10.3 ขั้นประกอบกิจกรรม
10.5 สอบหลังเรียน
10.4 ขั้นสรุป
10.1สอบก่อนเรียน
2) หน่วย
6) กิจกรรมการเรียน
เดี่ยว
กลุ่ม
8.9) ระบบการจัดการเรียนการสอน โดย สงัด อุทรานันท์
องค์ประกอบที่สำคัญ ๆ ในการจัดการเรียนการสอน 10 ประการ คือ
5) การดำเนินการสอน
6) การสร้างเสริมทักษะ
4) การเตรียมความพร้อม
7) กิจกรรมสนับสนุน
3) เนื้อหาสาระที่จะสอน
8) การควบคุมและตรวจสอบ
2) จุดมุ่งหมายของการสอน
9) สัมฤทธิ์ผลของการสอน
1) ลักษณะของผู้เรียน
10) การปรับปรุงแก้ไข
3.10) ระบบการสอนตามเเนวพุทธวิธี โดย สุมน อมรวิวัฒน์
ปัจจัยภายนอก
คำสั่งสอน (ปรโตโฆสะ)
กัลยาณมิตร
บุคลิกภาพ
คุณธรรม
ความรู้
วิธีการสั่งสอน
สิ่งเเวดล้อม
เเรงจูงใจ
บรรยากาศ
ปัจจัยภายใน
วิธีการแห่งปัญญาวิธีคิดโดยแยบคาย (โยนิโสมนสิการ)
คิดเเบบคุณค่าเเท้คุณค่าเทียม
คิดเเบบเป็นอยู่ในปัจจุบัน
คิดเเบบอรรถธรรมสัมพันธ์
คิดเเบบเเยกเเยะ
คิดแบบสามัญลักษณ์
คิดแบบอริยสัจจ์
คิดแบบสืบสาวเหตุปัจจัย
คิดแบบคุณโทษและทางออก
คิดแบบอุบายปลุกเร้า
คิดแบบวิภัชชวาท
อิสรภาพภายนอก
ปรับตัวได้ต่อความเจริญและการเปลี่ยนแปลง
พ้นจากพันธนาการของระบบสังคมที่เบียดเบียน
ปรับตัวได้กับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สามารถเสวยประโยชน์จากความเจริญอย่างประสานกลมกลืนกับธรรมชาติ
อิสรภาพภายใน
เป็นนายเหนือธรรมชาติภายในตัวเอง
จิตใจสงบเเจ่มใส
จิตหลุดพ้นจากความอยาก, ความโกรธ เเละความหลงผิด
3.11) ระบบการออกเเบบการเรียนการสอน โดย ทิศนา เเขมมณี
1) ขั้นการคิดออกเเบบการเรียนการสอน
พิจารณาหลักสูตร ปัญหาความต้องการของผู้เรียน ผู้สอน
กำหนดเนื้อหาและมโนทัศน์ (contents and Concept)
วัตถุประสงค์ (Objectives)
ยุทธศาสตร์ / ยุทธวิธีในการสอน (Instructional Strategies)
กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อ (Instructional Activities and Media)
การวัดและประเมินผลการเรียนการสอน (Instructional Measurement and Evaluation)
เงื่อนไขและข้อจำกัดต่าง ๆ (Conditions in Teaching and Learning)
ด้านโรงเรียนเเละผู้บริหาร
ด้านสถานที่
ด้านสื่อ วัสดุ
ด้านสิ่งเเวดล้อม
ด้านผู้สอน
ด้านผู้เรียน
ด้านงบประมาณ
ด้านชุมชน
ด้านผู้ปกครอง
ด้านนโยบายของรัฐ
2) ขั้นการเขียนเเผนการสอน
มโนทัศน์
กิจกรรม
เนื้อหาสาระ
สื่อ
วัตถุประสงค์
การวัดและประเมินผล
บันทึกผลการสอน
1) ความสำคัญเเละความเป็นมาของเรื่อง "ระบบ"เเละ"วิธีการเชิงระบบ" (system and system approach)
ความเป็นระบบ เป็นปัจจัยที่สำคัญอย่างหนึ่งที่ช่วยให้การทำงานใด ๆประสบผลสำเร็จมีประสิทธิภาพตามที่ตั้งไว้
สงัด อุทรานันท์ ได้กล่าวไว้ว่า
"การทำงานอย่างมีระบบเป็นการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ"
เพราะ
1) การทำงานอย่างเป็นระบบนั้นสิ่งต่าง ๆ ที่เป็นองค์ประกอบของระบบจะอยู่ด้วยกันอย่างมีระเบียบไม่มีความสับสนและไม่มีความขัดแย้งกันระหว่างองค์ประกอบเหล่านั้น
2) การทำงานอย่างเป็นระบบจะเป็นไปด้วยความสะดวกรวดเร็วประหยัดแรงงานเวลาและค่าใช้จ่าย
3) งานทุกอย่างจะสำเร็จตามเป้าหมายและได้ผลอย่างเต็มที่
คำจำกัดความคำว่า "ระบบ"
กานเย และบริกส์ กล่าวว่าระบบหมายถึง“ วิธีการใด ๆ ก็ได้ที่ได้รับการจัดไว้อย่างเป็นระเบียบเพื่อเป็นหลักให้สามารถทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้บรรลุผลตามเป้าหมายซึ่งอาจจะเป็นเป้าหมายในวงกว้างเช่นเพื่อสังคมหรือเป้าหมายย่อยเช่นเพื่อคนส่วนหนึ่งของสังคมหรือเป้าหมายในวงแคบเช่นเพื่อครูคนเดียวก็ได้”
เซียเลส กล่าวว่า ระบบเป็นการจัดสิ่งต่าง ๆ ให้มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันอย่างเป็นระเบียบเป็นลำดับขั้นตอนเพื่อให้เกิดความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
บานาธิ ได้ให้ความหมายของระบบไว้ว่า เป็นการรวบรวมของส่วนประกอบซึ่งมีความสัมพันธ์และส่งเสริมต่อกันเพื่อทำงานให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้
ธีระ สุมิตร กล่าวว่า“ ระบบเป็นองค์ประกอบผสมผสานที่ได้รับการออกแบบอย่างตั้งใจซึ่งแต่ละองค์ประกอบมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันและความสัมพันธ์นี้ได้ทำให้เกิดสัมฤทธิผลในจุดมุ่งหมายที่ได้ตั้งไว้
สงัด อุทรานันท์ กล่าวว่า“ ระบบหมายถึงสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่ร่วมกันและต่างทำหน้าที่ของตนอย่างมีระเบียบเพื่อให้บรรลุจุดหมายปลายทางที่กำหนดไว้”
ชัยยงค์ พรหมวงศ์ ได้สรุปไว้ว่าระบบเป็นผลรวมของหน่วยย่อยซึ่งทำงานเป็นอิสระจากกัน แต่มีปฏิกิริยาสัมพันธ์กันเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้
สิ่งสำคัญของระบบ
1) องค์ประกอบสำคัญ ๆ ของระบบ
2) ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบนั้น
3) เป้าหมาย หรือจุดหมายของระบบนั้น
ลักษณะที่สื่อสารกันของความคิดเรื่อง "ระบบ"
1) ระบบในเเง่ของ "การคิดเป็นระบบ" (systemtic thinking)
หมายถึง การกำหนดองค์ประกอบเเละการจัดองคืประกอบของระบบให้มีความสัมพันธ์กันอย่างเป็นลำดับขั้นตอน
2) ระบบในเเง่ของ "การคิดเชิงระบบ"
ประกอบไปด้วยส่วนสำคัญ 5 ส่วน
1) ตัวป้อน (input)
2) กระบวนการ (process)
3) ผลผลิต (product)
4) กลไกลควบคุม (control)
5) ข้อมูลป้อนกลับ (feedback)
แนวคิดเรื่องวิธีการเชิงระบบ หรือ“ system approach” เดิมทีเดียวเป็นแนวคิดที่เกิดขึ้นในวงการวิศวกรรมและวงการทหารต่อมาได้แพร่หลายเข้ามาในวงการศึกษาเล่ากันว่าแนวคิดนี้เกิดขึ้นระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2
2) วิธีการจัดระบบหรือสร้างระบบ
เเบบจำลองการจัดระบบของ ชัยยงค์ พรหมวงศ์
มี 4 ขั้นตอน คือ
2) ขั้นการสังเคราะห์ระบบ (Synthesis) เป็นขั้นของการรวบรวมข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์ระบบเดิมและนำมาใช้ในการสร้างระบบใหม่
3) ขั้นสร้างแบบจำลองระบบการสอน (construct of system model) เป็นขั้นของการนำเอาขั้นตอนต่าง ๆ ที่กำหนดไว้ในขั้นสังเคราะห์ระบบมาใส่แบบจำลองเพื่อแสดงลำดับขั้น เพื่อสะท้อนให้เห็นองค์ประกอบทั้ง 4 ของแบบจำลองระบบคลาสสิก คือ ตัวป้อน กระบวนการ กลไกควบคุม และผลผลิต
4) ขั้นการทดลองใช้ระบบในสถานการณ์จำลอง (system simulation) เป็นขั้นของการพิสูจน์ทดสอบว่าระบบที่สร้างขึ้น สามารถใช้ได้ผลตามที่คาดหวัง
1) ขั้นการวิเคราะห์ระบบ (analysis) หมายถึงการนำระบบเดิมที่ใช้อยู่มาวิเคราะห์เพื่อศึกษาปัญหาความต้องการและจุดบกพร่องต่าง ๆ รวมทั้งการสำรวจทรัพยากรที่มีอยู่และที่ต้องการ
ขั้นตอนการสร้างระบบหรือจัดระบบ
5) การจัดกลุ่มองค์ประกอบ
6) การจัดความสัมพันธ์ขององค์ประกอบ
4) การกำหนดองค์ประกอบของระบบ
7) การจัดผังระบบ
สัญลักษณ์แสดงองค์ประกอบของระบบ
กรอบรูป
สัญลักษณ์แสดงทิศทางของความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบ
เส้นโค้ง
เส้นประ
เส้นตรง
หัวลูกศร
ลักษณะการเขียนเเผนผัง
ก. เขียนแนวนอนโดยใช้รูปเรขาคณิตเป็นสัญลักษณ์แสดงองค์ประกอบของระบบต่อเนื่องกันและแสดงความสัมพันธ์ขององค์ประกอบโดยใช้เส้นและหัวลูกศรแสดงทิศทางของความสัมพันธ์ไปในแนวนอน
ข. เขียนแนวตั้งโดยใช้รูปเรขาคณิตเป็นสัญลักษณ์เช่นเดียวกับแบบ ก. แต่การเรียงลำดับองค์ประกอบเป็นไปในแนวตั้ง
ค. เขียนผสมทั้งแนวนอนแนวตั้งวิธีนี้เป็นวิธีที่ใช้กันมากที่สุดเพราะสามารถใช้แสดงความสัมพันธ์ขององค์ประกอบได้หลายทิศทาง
ง. เขียนผสมรูปภาพและสัญลักษณ์ผสมกันการใช้ภาพผสมจะช่วยให้ความคิดชัดเจนขึ้น
จ. เขียนเป็นสัญลักษณ์เชิงคณิตศาสตร์วิธีนี้ใช้มากในการเขียนโปรแกรมทางคอมพิวเตอร์และบทเรียนแบบโปรแกรม
3) การศึกษาสภาพการณ์และปัญหาที่เกี่ยวข้อง
8) การทดลองใช้ระบบ
2) การศึกษาหลักการ/ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
9) การประเมินผลระบบ
1) การกำหนดจุดมุ่งหมายของระบบ
10) การปรับปรุงระบบ