Coggle requires JavaScript to display documents.
- เท้าและแขนบวมทั้งสองข้าง และใบหน้าบวม - albumin = 2.3 g% - Urine protine = 2,000 mg - Cholesterol = 392 mg - I/O (intake = 550 , Output=60)
จัดท่าให้นอนศีรษะสูง และยกปลายเตียงให้สูง
ประเมินภาวะบวม ที่บริเวณใบหน้า หลังมือ แขน หน้าแข้ง และหลังเท้า โดยกดที่บริเวณดังกล่าวนาน 5 วินาที แล้วประเมินระดับความบวมน้ำ
ดูแลให้ได้รับอาหารลดเค็ม (Low salt, Low sodium)
ดูแลแนะนำให้รับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง ให้ผู้ป่วยรับประทานไข่ขาวเพิ่มวันละ 2 ฟอง
ดูแลให้ยา Lasix 20 ml. ตามแผนการรักษา พร้อมสังเกตฤทธิ์ข้างเคียง และให้ 20% albumin ทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษาของแพทย์
ติดตามผล Albumin ในกระแสเลือด
ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการโดยเฉพาะ BUN Cr GFR
บันทึกสารน้ำเข้าออกทุก 8 ชั่วโมง
สัญญาณชีพ
ได้รับยา Prednisolone 5 ml 8 cc OD
Urine protein 2,000 mg
Cholesterol = 392 mg
- ยา Prednisolone อยู่ในกลุ่มยาสเตียรอยด์ ซึ่งการใช้สเตียรอยด์มีผลกดภูมิต้านทานของร่างกาย ได้ง่าย ทำให้เกิดการติดเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส และโดยเฉพาะอย่างยิ่งเชื้อราได้ง่าย นอกจากนี้สเตียรอยด์ยังอาจบดบังอาการแสดงของโรคติดเชื้อ ทำให้ตรวจพบโรคเมื่ออาการรุนแรงแล้ว และจากการที่มีโปรตีนรั่วออกไปในปัสสาวะจำนวนมากร่างกายไม่สามารถสังเคราะห์อัลบูมินได้เร็วพอจึงเกิดภาวะอัลบูมินในเลือดต่ำลง ทำให้พลาสม่าโปรตีนลดลง ซึ่งพลาสม่าโปรตีนช่วยป้องกันการสูญเสียสารบางชนิดออกไปนอกร่างกาย หรือป้องกันการเกิดพิษจากสารนั้นๆได้ ดังนั้นเด็กมีโอกาสติดเชื้อได้ง่าย จากการสูญเสียโปรตีนชนิดโกลบูลินทางปัสสาวะร่วมกับการได้รับยากลุ่มสเตียรอยด์
ไม่พบโปรตีนในปัสสาวะ
ไม่มีอาการติดเชื้อ เช่น ไอ เจ็บคอ หายใจเร็ว เป็นต้น
ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
แยกผู้ป่วยและเครื่องใช้จากผู้ป่วยโรคติดเชื้อหรือญาติที่มีการติดเชื้อ
สังเกตอาการติดเชื้อ เช่น ไอเจ็บคอ หายใจเร็ว เป็นต้น
ล้างมือก่อนและหลังทำหัตถการ
ดูแลทำความสะอาดร่างกายผู้ป่วยสิ่งแวดล้อมรอบเตียงผู้ป่วย
จัดอาหารที่มีประโยชน์ครบ 5 หมู่ควรเป็นอาหารที่มีโปรตีนเพียงพอ
เพื่อป้องกันอันตรายจากภาวะ Hypertensive encephalopathyจากการเกิดภาวะน้ำเกิน
1. ปกติสัญญาณชีพปกติ
2. อาการบวมลดลง 3. Albumin ในเลือดมีค่า 3.5-5.0 g/dl 4. Urine protein (< 1000. mg/) 5. Cholesterol (<200mg) 6. Intake = Output 7.Urine specific gavity 1.005 -1.030
ประเมินอาการและอาการแสดงโดยการวัดสัญญาณชีพโดยเฉพาะความดันโลหิตทุก 4 ชั่วโมง
สังเกตและบันทึกอาการแสดงทางระบบประสาท ถ้าผิดปกติรายงานแพทย์ เช่น ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน กระสับกระส่าย เป็นต้น
ดูแลให้ได้รับอาหารลดเค็ม (Low salt, Low sodium) ควรรับประทานอาหารรสจืด
แน่ะนำให้รับประทานผักผลไม้นมพร่องมันเนย เลี่ยงไขมันจากสัตว์บกและสัตว์น้ำบางชนิด เช่น หอยนางรม และปลาหมึกสดอาหารที่มีโปแตสเซียม แคลเซียม
ชอบวิ่งเล่นกับเพื่อน ไม่อยู่นิ่ง
เกิดหกล้มขณะวิ่งเล่น
- เด็กวัยก่อนเรียนคือช่วงอายุ 3-6 ปี เป็นวัยที่มีการพัฒนาของทักษะการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ และการประสานสัมพันธ์ของระบบต่างๆของร่างกายมีเพิ่มมากขึ้น เด็กก่อนวัยเรียนจะไม่ล้มง่ายเหมือนเด็กวัยหัดเดิน แต่จะต้องให้การดูแลอย่างใกล้ชิด เนื่องจากเด็กไม่ได้คิดไตร่ตรองการกระทำที่ทำลงไปเด็กจะนึกแต่ว่าจะเล่นเพื่อคามสนุกสนาน อีกทั้งเด็กก่อนวัยเรียนจะชอบเลียนแบบผู้ใหญ่ เมื่อเห็นผู้ใหญ่ทำอะไรก็อยากที่จะทำด้วยโดยไม่ได้คำนึงถึงอันตราย เพราะฉะนั้นเด็กวัยก่อนเรียนจึงมีความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุได้ง่าย
- เพื่อป้องกันไม่ให้เด็กได้รับอุบัติเหตุ
- 1. ไม่เกิดอุบัติเหตุกับเด็ก เช่น ตกเตียง หรือโดนของมีคมบาด เป็นต้น - 2. ผู้ดูแลเด็กให้การดูแลอย่างใกล้ชิด
- 1. สร้างสัมพันธภาพโดยการเข้าไปพูดคุยและถามเกี่ยวกับกิจกรรมที่เด็กชอบเล่น - 2.จัดสิ่งแวดล้อมรอบเตียงให้เรียบร้อย เช่น วางสิ่งของให้เป็นระเบียบ เก็บเก้าอี้ให้เรียบร้อย เก็บสิงของอันตรายให้พ้นมือเด็ก - 3. ยกไม้กันเตียงขึ้นทุกครั้งเมื่อเด็กต้องอยู่คนเดียว ไม่มีผู้ปกครองคอยดูแล - 4. แน่ะนำผู้ดูแลเด็กให้ดูแลเด็กอย่างใกล้ชิดขณะทำกิจวัตรประจำวัน ให้เด็กอยู่ในสายตาตลอดเวลา
- น้ำหนังลดลง 1 กิโลกรัม
- albumin = 2.3 g% - Urine protine = 9295 mg - I/O (intake = 550 , Output=990)
- เกิดจากความผิดปกติของ ผนังหลอดเลือดที่ไต มีสาเหตุจากระบบภูมิคุ้มกันของ ร่างกายผิดปกติโดยเฉพาะทีลิมโฟซัยต์(T-Lymphocyte) ทำให้มีการหลั่งสารลิมโฟไคน์ (lymphokine) ออกมาทำลายผนังโกลเมอรูลัสและมีการรั่วของโปรตีนออกมาในปัสสาวะมาก ทำให้ระดับอัลบูมินในเลือดต่ำลง การสูญเสียโปรตีนทางปัสสาวะมากทำให้ปริมาณอัลบูมินในเลือดต่ำลง ส่งผลให้เด็กมีภาวะขาดสารอาหารโปรตีน (สมรัตน์ แดงสกุล, 2558)
- ป้องกันการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ
- ผู้ป่วยมีน้ำหนักตามเกณฑ์อายุเมื่อใช้กราฟแสดงภาวะการเจริญเติบโตของเด็ก - น้ำหนักตัวไม่ลดลงจากเดิม - Albumin ในเลือดมีค่า 3.5-5.0 g/dl - Urine protein (< 1000. mg/) - Intake = Output
1. ประเมินกราฟการเจริญเติบโตของเด็ก และประเมินค่าดัชนีมวลกาย 2. การคำนวณปริมาณสารอาหารที่ให้ในผู้ป่วย โดยควรได้รับสารอาหาร 730 กิโลแคลอรี /วัน 3. ดูแลให้ได้รับน้ำ โดยควรได้รับสารน้ำ 1700 cc 4. ให้อาหารอ่อนย่อยง่ายครั้งน้อยๆ บ่อยๆหลีกเลี่ยงอาหารหวาน มัน เค็ม 5. ชั่งน้ำหนัก สัปดาห์ละ1-2 ครั้ง 6. ติดตามผลการตรวจทาง ห้องปฏิบัติการ Albumin และ Urine protein
- มีพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไม่ เหมาะสม และอาจเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เด็กมีอาการบวมมากขึ้น ความดันโลหิตสูงเกิดขึ้น การศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมการรับประทานอาหารและปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการรับประทานอาหารในเด็กวัยรุ่นกลุ่มอาการเนฟโฟรติกจึงมีความจำเป็นเพราะจะทำให้มีความรู้ความเข้าใจถึงพฤติกรรมการรับประทานอาหารและปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการรับประทานอาหาร ซึ่งจะนำไปสู่การพัฒนาวิธีการสร้างเสริมพฤติกรรมการรับประทานอาหารในเด็กวัยรุ่นกลุ่มอาการเนฟโฟรติกต่อไป
- เพื่อให้มารดามีความรู้ในการเลือกรับประทานอาหารให้กับเด็ก
- ถาม-ตอบ เกี่ยวกับการดูแลเด็กในการเลือกรับประทานอาหารให้กับเด็ก โดยให้บิดา มารดา หรือผู้ดูแลเด็กสามารถตอบคำถามได้ 4ใน6ข้อ
1. อธิบายเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรค 2. แนะนำให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกรับประทานอาหารดังนี้ 2.1 อาหารที่ควรรับประทาน - อาหารแระเภทโปรตีน เช่น ไข่ขาว เนื้อวัว หรือเนื้อไก่ เป็นต้น 2.2 อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง - ไขมัน โดยการลดการรับประทานอาหารที่มีไขมันอิ่มตัวและโคเลสเตอรอลสูง ได้แก่ ไขมันสัตว์ ไข่แดง เครื่องในสัตว์ เนย มันสมอง เนื้อสัตว์ติดมัน น้ำมันมะพร้าว กะทิ เป็นต้น - โซเดียม ควรหลีกเลี่ยงการซื้ออาหารปรุงสำเร็จรับประทาน ลดการเติมน้ำปลาซีอิ้ว เกลือลงไปในอาหาร เนื่องจากมีส่วนประกอบเป็นเกลือโปแตสเซียมซึ่งอาจทำให้เกิดอันตรายได้ - โปแตสเซียม ถ้าระดับโปแตสเซียมในเลือดสูงมากเกินไปอาจทำให้หัวใจเต้นผิดปกติหรือหยุดเต้นได้ ดังนั้นในผู้ป่วยที่ควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มีโปแตสเซียมสูง เช่น ผักใบเขียว กวางตุ้ง คะน้า ดอกกะหล่ำ บร็อคโคลี เป็นต้น