Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบการเรียนการสอน - Coggle Diagram
ระบบการเรียนการสอน
3.ตัวอย่างระบบการเรียนการสอน
1.ระบบการเรียนการสอนของไทเลอร์ (Robert Tyler)
ระบบการเรียนการสอน “ไทเลอร์ลูฟ(Tyler Loop) มีองค์ประกอบ 3 ส่วน
จุดมุ่งหมายของการเรียนการสอน
2.กิจกรรมการเรียนการสอน
การประเมินผลการเรียนการสอน
2.ระบบการเรียนการสอนของเกลเซอร์(Glaser)
มีองค์ประกอบ 5 ส่วน
1.จุดประสงค์ของการสอน
การประเมินสถานะของผู้เรียนก่อนสอน
การจัดกระบวนการเรียนการสอน
4.การประเมินผลการเรียนการสอน
5.ข้อมูลป้อนกลับ
3.ระบบการเรียนรู้ของคาร์รอล (Carroll
การจัดการเรียนการสอนต้องคำนึงถึง
5 สิ่งสำคัญ
1.ความถนัดทางการเรียนรู้ของผู้เรียน
2.ความสามารถจองผู้เรียนในการเข้าใจ
3.ความพยายามในการเรียน
4.เวลาเรียนที่ใช้ในการเรียน
5.คุณภาพในการสอนของครู
4.ระบบการเรียนการสอนของเกอร์ลัคและลีอาย (Gerlach and Ely)
มี 6 ขั้นตอน
การกำหนดวัตถุประสงค์
การเลือกเนื้อหาวิชา
การประเมินพฤติกรรมก่อนการเรียน
การดำเนินการสอน
การประเมินผลการเรียน
การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อป้อนกลับ
5 ระบบการเรียนการสอนของคลอสไมเออร์ และริปเปิล (Klausmeierand Ripple)
มี 7 ขั้นตอน
การกำหนดจุดมุ่งหมายของการเรียนการสอน
การพิจารณาความพร้อมของผู้เรียน
การจัดเนื้อหาวิชา วัสดุ อุปกรณ์และเครื่องมือต่าง ๆ
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
การดำเนินการสอน
การวัดและประเมินผลการเรียนการสอน
สัมฤทธิ์ผลของนักเรียน
ระบบการเรียนการสอน ของเคมพ์ (Kemp)
มี 9 ขั้นตอน
กำหนดหัวข้อที่จะสอนและเขียนวัตถุประสงค์ทั่วไป
ศึกษาคุณลักษณะของผู้เรียน
ระบุจุดมุ่งหมายของการสอนในเชิงพฤติกรรม
กำหนดเนื้อหาวิชาที่สนับสนุนวัตถุประสงค์ในแต่ละข้อ
ทดสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถก่อนที่จะทำการสอน
เลือกกิจกรรมและแหล่งวิชาการสำหรับการเรียนการสอน เพื่อจะสู่จุดหมายปลายทางที่วางไว้
ประสานงานในเรื่องต่าง ๆ และดำเนินการไปตามแผนการที่กำหนดไว้
ประเมินผลการเรียนของผู้เรียนว่าบรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้เพียงใด
พิจารณาว่าควรจะได้มีการแก้ไขปรับปรุงแผนการเรียนการสอนให้ดีขึ้นอย่างไร
ระบบการเรียนการสอนของกานเยและบริกส์ (Gagne and Briggs)
การออกแบบการเรียนการสอน
มี 4 ระดับ
ระดับระบบ
วิเคราะห์ความต้องการ เป้าหมาย และจัดลำดับความสำคัญ
วิเคราะห์แหล่งทรัพยากร อุปสรรคและข้อจำกัดต่าง ๆ
กำหนดขอบข่ายของหลักสูตรและรายวิชาต่าง ๆ
ระดับรายวิชา
วิเคราะห์จุดมุ่งหมายของรายวิชา
กำหนดโครงสร้างของรายวิชา
ระดับบทเรียน
ระบุวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
จัดเตรียมแผนการสอนหรือโมดูล (ชุดการสอน)
เลือกและจัดทำสื่อและวัสดุการเรียนการสอน
9.วัดและประเมินผล
ระดับระบบ
การเตรียมครู
การประเมินผลเพื่อการปรับปรุง
การทดสอบ การปรับปรุง
การประเมินผลเพื่อตัดสิน
การจัดระบบและเผยแพร่ระบบ
ระบบการจัดการเรียนการสอนแผนจุฬาฯ โดย ชัยยงค์ พรหมวงศ์
วิธีสอนโดยใช้ชุดการสอนดีกว่าการ
สอนด้วยวิธีธรรมดา
มี 10 ขั้นตอน
หัวเรื่อง
มโนทัศน์และหลักการ
วัตถุประสงค์
กิจกรรมการเรียนการสอน
หน่วย
การประเมินผล
สื่อการสอน
วิชา
ห้องเรียน
นำไปใช้
10.3 ขั้นประกอบกิจกรรม
10.4 ขั้นสรุป
10.2 ขั้นนำ
10.5 สอบหลังเรียน
10.1 สอบก่นเรียน
ระบบการจัดการเรียนการสอน โดย สงัด อุทรานันท์
องค์ประกอบ 10 ประการ
ลักษณะของผู้เรียน
จุดมุ่งหมายของการสอน
เนื้อหาสาระที่จะสอน
การเตรียมความพร้อม
การดำเนินการสอน
การสร้างเสริมทักษะ
กิจกรรมสนับสนุน
การควบคุมและตรวจสอบ
สัมฤทธิ์ผลของการสอน และ
การปรับปรุงแก้ไข
ระบบการสอน โดยแนววิถีพุทธ โดย สุมนอมรวิวัฒน์
ปัจจัยภายนอก
ศรัทธา คำสั่งสอน
(ปรโตโฆสะ)
กัลยาณมิตร
บุคลิกภาพ
คุณธรรม
ความรู้
วิธีการสั่งสอน
สิ่งแวดล้อม
บรรยากาศ
แรงจูงใจ
แรงจูงใจ
ปัจจัยภายใน
วิธีการแห่งปัญญา
วิธีคิดโดยแยบคาย (โยนิโสมนสิการ)
1.คิดแบบสืบสาวเหตุปัจจัย
2.คิดแบบแยกแยะ
3.คิดแบบสามัญลักษณ์
4.คิดแบบอริยสัจจ์
5.คิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ์
6.คิดแบบคุณโทษและทางออก
7.คิดแบบคุณค่าแท้คุณค่าเทียม
8.คิดแบบอุบายปลุกเร้า
9.คิดแบบเป็นอยู่ในปัจจุบัน
10.คิดแบบวิภัชชวาท
อิสรภาพภายนอก
1.ปรับตัวได้กับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
2.ปรับตัวได้ต่อความเจริญและการเปลี่ยนแปล
3.พ้นจากพันธนาการของระบบสังคมที่เบียดเบียน
4.สามารถเสวยประโยชน์จากความเจริญอย่างประสานกลมกลืนกับธรรมชาติ
อิสรภาพภายใน
1.จิตหลุดพ้นจากความอยาก, ความโกรธ และความหลงผิด
2.เป็นนายเหนือธรรมชาติภายในตัวเอง
3.จิตใจสงบแจ่มใส
11.ระบบการออกแบบการเรียนการสอน
โดย ทิศนา แขมมณี
ขั้นการคิดออกแบบการเรียนการสอน
พิจารณา
หลักสูตร ปัญหาความต้องการของผู้เรียน ผู้สอน
กำหนดเนื้อหาและมโนทัศน์ (Contents and Concept)
วัตถุประสงค์
(Objectives)
ยุทธศาสตร์/ยุทธวิธีในการสอน
(Instructional Strategies)
กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อ
(Instructional Activities and Media)
การวัดและประเมินผลการเรียนการสอน
(Instructional Measurement and Evaluation)
โดยจะมีเงื่อนไขและข้อจำกัดต่าง ๆ (Conditions in Teaching
and Learning)
ขั้นการเขียนแผนการสอน
วัตถุประสงค์
เนื้อหาสาระ
มโนทัศน์
กิจกรรม
สื่อ
การวัดและการประเมินผล
บันทึกผลการสอน
ความสำคัญและความเป็นมาของเรื่อง"ระบบ"และ"วิธีการเชิงระบบ (system and system approach)
"ความเป็นระบบ" เป็นปัจจัยที่สำคัญอย่างหนึ่งที่ช่วยให้การทำงานใด ๆ ประสบผลสำเร็จ มีประสิทธิภาพตามที่ตั้งไว้ได้
คำจำกัดความต่าง ๆ ของคำว่า "ระบบ"
กานเยและบริกส์ (Gagne' & Brigge) : ระบบ หมายถึง "วิธีการใด ๆ ก็ได้ที่ได้รับการจัดไว้เป็นระเบียบเพื่อให้สามารถบรรลุตามเป้าหมายทั้งในวงกว้างและวงแคบ
เซียเลส (Searles) : ระบบเป็นการจัดการสิ่งต่าง ๆ ให้สัมพันธ์กันเป็นระเบียบเป็นขั้นตอน
บานาธี (Banathy) : ระบบเป็นการรวบรวมของส่วนประกอบที่มีความสัมพันธ์และส่เสริมกัน
ธีระ สุมิตร : ระบบเป็นองค์ประกอบผผสมผสานที่ได้รับการออกแบบอย่างตั้งใจ ซึ่งมีความสัมพันธ์กันและกัน ทำให้เกิดผลสัมฤทธิ์ในจุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้
5.สงัด อุทรานันท์ : ระบบหมายถึงสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่รวมกันต่างทำหน้าที่อย่างมีระเบียบ เพื่อให้บรรลุจุดหมายปลายทางที่กำหนดไว้
ชัยยงค์ พรหมวงศ์ : ระบบเป็นผลรวมของหน่วยย่อยซึ่งทำงานเป็นอิสระจากกัน แต่มีปฏิกิริยาสัมพันธ์กัน เพื่อบรรลุตามวัตุประสงค์ที่กำหนดไว้
ระบบต้องประกอบไปด้วย 3 สิ่งสำคัญ
องค์ประอบสำคัญ ๆ ของระบบ
2.ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบนัั้น
เป้าหมาย หรือจุดหมายของระบบนั้น
วิธีการเชิงระบบ (System approach)
เป็นแนวคิดที่ใช้ในการจัดสิ่งต่าง ๆ ให้เป็นระเบียบเพื่อนำไปสู่เป้าหมายที่ต้อการ
ส่วนประกอบสำคัญ 5 ส่วน
เบื้องต้น 3 ส่วน
ตัวป้อน (input) : องค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบนั้น
กระบวนการ (process) : การจัดความสัมพันธ์ขององค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบ ให้เอื้ออำนวยต่อการบรรลุเป้าหมาย
3.ผลผลิต (produc) : ผลที่เกิดจากกระบวนการดำเนินงาน
ส่วนสำคัญเพิ่มเติม
4.กลไกควบคุม (contro) : วิธีการที่ใช้ในการควบคุม ตรวจสอบกระบวนการให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
5.ข้อมูลป้อนกลับ (feeback) : ข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างผลผลิตกับจุดมุ่งหมาย
ความคิดเรื่องระบบ มีลักษณะสื่อสาร 2 แนว
ระบบในแง่ของ "การคิดเป็นระบบ" (systematic thinking) : การกำหนดและจัดองค์ประกอบของระบบให้มีความสัมพันธ์กันอย่างเป็นลำดับขั้น
ระบบในแง่ของ "การคิดเชิงระบบ" : การจัดระะบบด้วยวิธีการเชิงระบบ (system appoach)
วิธีการจัดระบบหรือ สร้างระบบ
แบบจำลองการจัดระบบของ ชัยยงค์ พรหมวงศ์ 4 ขั้นตอน
1.ขั้นการวิเคราะห์ระบบ (analysis) : การนำระบบเดิมที่ใช้อยู่มา
วิเคราะห์เพื่อศึกษาปัญหาความต้องการและจุดบกพร่องต่าง ๆ
2.ขั้นการสังเคราะห์ระบบ (synthesis) : การรวบรวมข้อมูลที่ได้
จากการวิเคราะห์ระบบเดิม และนำมาใช้ในการสร้างระบบใหม่
3.ขั้นสร้างแบบจำลองระบบการสอน (construct of system model) :การนำเอาขั้นตอนต่าง ๆ ที่กำหนดไว้ในขั้นสังเคราะห์ระบบ มาใส่แบบจำลองสะท้อนให้เห็นองค์ประกอบทั้ง 4 ของแบบจำลองระบบคลาสสิก
4.ขั้นการทดลองใช้ระบบในสถานการณ์จำลอง (system simulation) : เป็นขั้นของ การพิสูจนัทดสอบว่าระบบที่สร้างขั้น สามารถใช้ได้ผลตามที่คาดหวัง
การสร้างระบบหรือจัดระบบ มี 10 ขั้นตอน
1.การกำหนดจุดมุ่งหมายของระบบ : ต้องกำหนดจุดมุ่งหมายของระบบให้ชัดเจน
2.การศึกษาหลักการ/ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง : จะช่วยทำให้ระบบมีพื้นฐานที่มั่นคงขึ้น
3.การศึกษาสภาพการณ์และปัญหาที่เกี่ยวข้อง : จะช่วยให้ผู้สร้างหรือจัดระบได้คันพบองค์ประกอบที่สำคัญที่จะช่วยให้ระบบมีประสิทธิภาพเมื่อนำไปใช้จริง
4.การกำหนดองค์ประกอบของระบบ : การพิจารณาว่า มีอะไรบ้างสามารถช่วยให้เป้าหมายหรือจุดมุ่งหมายบรรถผลสำเร็จ
5.การจัดกลุ่มองค์ประกอบ : ได้แก่ การนำองค์ประกอบที่กำหนดไว้ มาจัดหมวดหมู่เพื่อความสะดวกในการคิดและดำเนินการในขั้นต่อไป
การจัดความสัมพันธ์ขององค์ประกอบ : ต้องพิจารณาว่าองค์ประกอบใดเป็นเหตุและเป็นผลขึ้นต่อกันในลักษณะใด สิ่งใดควรมาก่อนมาหลัง สิ่งใดสามารถดำเนินการคู่ขนานกันไปได้
7.การจัดผังระบบ : ผลของการกำหนดและจัดความสัมพันธ์องค์ประกอบ
ส่วนสำคัญ5ส่วน
ผลผลิต
กลไกควบคุม
กระบวนการ
ข้อมูลป้องกลับ
ตัวป้อน
สัญลักษณ์
เส้นตรง เส้นโค้ง เส้นประ ลูกศร : แสดงทิศทางของความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบ
กรอปรูป : แสดงองค์ประกอบระบบ
ลักษณะของการเขียนผัง
1.เขียนแนวนอน
2.เขียนแนวตั้ง
เขียนผสมทั้งแนวนอนแนวตั้ง
4.เขียนรูปภาพและสัญลักษณ์ผสมกัน
5.เขียนเป็นสัญลักษณ์เชิงคณิตศาสตร์
8.การทดลองใช้ระบบ : จะต้องผ่านการคิดพิจารณาอย่างรอบคอบทั้งทางด้านทฤษฎี/หลักการ และการปฏิบัติจริง
9.การประเมินระบบ : การศึกษาผลที่เกิดขึ้นจากการทคลองใช้ระบบ
10.การปรับปรุงระบบ : ผลจากการทดลองใช้จะให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงระบบนั้นให้ดีขึ้น