Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีระวิทยาระบบทางเดินหายใจ - Coggle Diagram
พยาธิสรีระวิทยาระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินหายใจ
ทางเดินหายใจส่วนบน(upper airway)
โพรงจมูก
คอหอย (phalynx)
กล่องเสียง(larynx)
หน้าที่
เป็นทางผ่านของอากาศสู่ ทางเดินหายใจส่วนล่าง
ปรับอุณหภูมิและกรองความชื้น
ป้องกันสิ่งแปลกปลอมเข้าสู่ ทางเดินหายใจส่วนล่าง
ทางเดินหายใจส่วนล่าง (Lower airway)
หลอดลมเล็ก (bronchi)
หลอดลมฝอย (bronchiole)
หลอดลม (trachea)
ถุงลม (alveoli)
หน้าที่
สร้างน้าเมือกดักจับสิ่งแปลกปลอม
เป็นทางผ่านอากาศเข้าสู่ถุงลม
สร้างสารเคลือบผิว(surfactant)ซึ่งบุอยู่บริเวณ alveolar cells ของปอดเพื่อไม่ให้ถุงลมแฟบขณะ หายใจออก
กลไกการหายใจ
ขณะหาใจเข้า
อากาศภายนอกจึงเคลื่อนที่เข้าสู่ จมูก หลอดลม ไปยังถุงลมปอด
ทำให้ปริมาตรช่องอกเพิ่มมากขึ้น
กะบังลมจะเลื่อนต่าลงกระดูกซี่โครรงจะ
เลื่อนสูงขึ้น
ความดันอากาศภายในบริเวณรอบๆ ปอดลดต่าลงกว่าอากาศภายนอก
ขณะหายใจออก
กะบังลมจะเลื่อนสูงขึ้น
กระดูกซี่โครงจะเลื่อนต่าลง
ทำให้ปริมาตรของช่องอกลดน้อยลง
ความดันอากาศในบริเวณรอบๆ ปอดสูงกว่าอากาศภายนอก
อากาศในถุงลมปอดจึงเคลื่อนที่จาก ถุงลมปอดสู่หลอดลม ออกทางจมูก
การหายใจ
กระบวนการแลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ ระหว่าง ส่ิงแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
เพื่อใชใ้นกระบวนการเมตาบอลิซึมของเซลล์เน้ือเยื่อ
การขนส่งก๊าซ(Transportmechanism)เป็นการขนส่งก๊าซออกซิเจน จากปอดไปยังเซลล์เนื้อเยื่อและขนสง่ก๊าซคารบ์อนไดออกไซด์จากเซลลเ์น้ือเยื่อไป ขับถ่ายออกทางปอด
การหายใจภายใน (Internal respiration) เป็นการแลกเปลี่ยนก๊าซท่ี เกิดขึ้นที่เซลล์และเนื้อเยื่อ
การหายใจภายนอก (External respiration) เป็นการทางานของปอดโดย มีการแลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ระหว่างเลอืดที่ไหลเวยีนในปอด กับอากาศท่ีหายใจเข้าไป
การแลกเปลี่ยนก๊าซระดับปอด
มีองค์ประกอบ Ventilation “V” (การระบายอากาศ): Diffusion (การซึมผ่านของ
ก๊าซ Perfusion “Q” (การไหลเวียนของเลือด)
การประเมินสมรรถภาพของระบบหายใจ (Pulmonary function test)
เป็นการตรวจที่สำคัญสำหรับการวินิจฉัย, ประเมินและติดตามผลการรักษา โรคระบบการหายใจ
โรคปอดอุดก้ันเรื้อรัง
โรคปอดจากการทำงาน
โรคหืด
การประเมินก๊าซในหลอดเลือดแดง (Arterial blood gas) คือ
การตรวจ Arterial blood gas ในผู้ป่วย
ผู้ป่วยหนักและรุนแรง ใน ICU
ผู้ป่วยในภาวะฉุกเฉิน
ผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยออกซิเจน
ผู้ป่วยในระหว่างการดมยา
ผู้ป่วยภาวะหายใจล้มเหลว
ผู้ป่วยท่ีมีภาวะเสียสมดุลกรด ด่าง
~ท้องร่วงรุนแรง ~ได้รับสารพิษ
pH (acid-base status)
7.35 - 7.45
PO2 (partial pressure of oxygen)
80 – 100 mmHg
PCO2 (partial pressure of carbon dioxide)
35 - 45 mmHg
HCO3 (bicarbonate)
22 - 26 mEq/L
BE (base excess)
-2 ถึง +2
O2 Saturation (Saturation of oxygen)
96-98%
ความผิดปกติของการหายใจ
Dyspnea
plural pain
Abnormal breathing patterns Hypoventilation and Hyperventilation Cough
abnormal sputum
Hemoptysis
hypercapnia
Cyanosis
clubbing of finger or to
Restrictive pulmonary function
ภาวะท่ีการขยายตัวของปอดถูกจาก
ความผิดปกติของปอด เนื่องจากการขยายตัว (Expansion) ของปอดถูก จากัด ทาให้ TLC และ VC ลดลง มีผลให้หายใจเข้าลาบาก แต่แรงต้านการ ไหลของอากาศปกติ
ความยืดหยุ่นของปอดลดลง ทำให้ความจุของปอดลดลง
เช่น ผู้ที่มีโรคของเนื้อปอด ผู้ที่โครงสร้างกล้ามเน้ือ หรือกระดูกที่ช่วยในการ หายใจผิดปกติ กลุ่มน้ีจะมีค่า FVC เมื่อเทียบกับมาตรฐานต่ำกว่า 80 % แต่ ค่า FEV1 / FVC จะมากกว่า 70 %
สาเหตุ
~มีการเปลี่ยนแปลงของเน้ือปอด (parenchymal) ~โรคของเยื่อหุ้มปอด
~มีปัญหาของ Chest Wall
หลักการพยาบาล
-แก้ไขตามสาเหตุของภาวะนั้นๆ
-การแก้ไขภาวะของ Hypoxemia -ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
-คำแนะนาในการปฏิบัติเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่างๆ
การขับเสมหะในทางเดินหายใจ
การหายใจอย่างถูกวิธีและการไออย่างมี ประสิทธิภาพ
การดูดเสมหะโดยใช้ลูกยางแดง
การดูดเสมหะด้วยสายดูดเสมหะ
Nasopharyngeal and Oropharyngeal Suctioning
Endotracheal and tracheostomy Suctioning
Obstructive pulmonary function
ภาวะที่มีการอุดกั้นของทางเดินหายใจ
กลุ่มที่ผนังท่อทางเดินหายใจบวมหรือหดตัว
โรคหลอดลมโป่งพอง Bronchiectasis
โดยผู้ป่วยสามารถใช้ชีวิตได้ตามปกติ
แต่ต้องมีการติดตามอาการอย่างใกล้ชิดเพื่อ
ไม่ให้เกิดความเสียหายต่อระบบทางเดินหายใจ มากขึ้น
ทำให้ผู้ป่วยเสี่ยงติดเชื้อและเกิดการอุดตัน
ของทางเดินหายใจ
โรคนี้ไม่มีวิธีรักษาให้หายขาด ทาได้เพียง
ควบคุมอาการไม่ให้กาเริบ
ส่งผลให้มีเชื้อแบคทีเรียและสารคัดหลั่งสะสม
ภายในปอด
กลุ่มที่มีแรงดันบริเวณรอบๆนอกท่อทางเดินหายใจ
ซึ่งพบได้ในโรคถุงลมโป่งพอง(emphysema)หรือโรคปอดอุดก้ันเรอื้รงั (Chronic Obstructive Pulmonary Disease or COPD) คือมีลมหรืออากาศอยู่ในส่วนของ terminal bronchiole และมีการทาลายผนังของถุงลมจึงทาให้มลีักษณะโป่งออกของถุง
เป็นสาเหตุทำให้เกิดการอุดก้ันทางเดินหายใจ เนื่องจากมีการสูญเสียแรงตึงตัว
ของผนังถุงลม(alveolar)
สาเหตุ
ความผิดปกติที่ช่องทรวงอกและเยื่อหุ้มปอด
ความผิดปกติท่ีปอด
ความผิดปกติท่ีระบบประสาทส่วนกลาง
ความผิดปกติของระบบประสาทและกล้ามเน้ือ
ความผิดปกติของระบบหัวใจและหลอดเลือด
พยาธิสรีรวิทยา
การระบายอากาศน้อย (alveolar hypoventilation)
การระบายอากาศกับการไหลเวียนของเลือดไม่สมดุลกัน(V/Q)Mismatch
การลัด (right to left shunt)
การสูญเสียการซึมซ่านของก๊าซ(diffusionimpairment)
กลุ่มท่ีรูท่อทางเดินหายใจอุดตัน
ภายในของรูท่อทางเดินหายใจอุดตันเนื่องจากการมีสิ่งแปลกปลอม เสมหะ จำนวนมาก หรือการสำลักน้ำหรือสารบางอย่างเข้าไปในรูท่อทางเดินหายใจ
สาเหตุ
-ติดเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส และอื่นๆ
-การระคายเคืองจากสารพิษ
-การสำลักสิ่งแปลกปลอมเข้าไปในหลอดลม
-การได้รับบาดเจ็บต่อท่อทางเดินหายใจ
-การสูบบุหรี่
-เน้ืองอก -ต่อมน้าเหลืองโตเบียดท่าทางเดินหายใจ
พยาธิสรีระวิทยา
เมื่อมีการระคายเคืองหรือติดเชื้อทางเดินหายใจบ่อยๆ
ทำให้ผนังหลอดลมอักเสบ บวม มีหนอง เสมหะมากขึ้น
การทำหน้าที่ของ cilia ผิดปกติ ความสามารถในการขจัดส่ิงแปลกปลอม
ลดลง
หรือกรณี มีเน้ืองอก หรือก้อนโตเบียดท่อทางเดินหายใจ
ทำให้แรงต้านการไหลของอากาศมากขึ้น
เกิดภาวะ Atelectasis และมีความรุนแรงมากขึ้น
V/Q mismatch และมี Hypoxemia ตามมา