Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สุนทรียภาพทางดนตรี - Coggle Diagram
สุนทรียภาพทางดนตรี
1.องค์ประกอบดนตรี
1.1 เสียง(Tone) เป็นผลจากการที่วัตถุเคลื่อนไหวในอากาศหรือวัตถุที่มีการเคลื่อนที่ไปในช่วงเวลา เสียงดนตรีถูกสร้างขึ้นมาเพื่อเลียนเสียงธรรมชาติโดยผ่านเครื่องมือ เรียกว่า เครื่องดนตรี มีองค์ประกอบ 4 ประการ
-
-
3)ความเข้มของเสียง(Intensity) เสียงเครื่องดนตรีที่ีความ ดัง-เบา ประกอบด้วยการสื่อความหมายทางด้านอารมณ์ของบทเพลง
4)คุณภาพของเสียง(Tone quality) คุณสมบัติของเครื่องดนตรีที่มีความแตกต่างในแหล่งกำเนิดของเสียง สามารถแบ่งเป็นเสียงที่เกิดจากมนุษย์และเสียงที่เกิดจากเครื่องดนตรี
1.2 เวลา(Time) การเคลื่อนที่ของเสียงไปในช่วงเวลาเป็นการแบ่งหมวดหมู่ของจังหวะ จังหวะเป็นองค์ประกอบของดนตรีที่สามารถกระตุ้นการตอบสนองต่อลักษณะทางกายภาพของมนุษย์ได้เป็้นอย่างดี ประกอบด้วย
1) ความเร็วของจังหวะ (Tempo) เป็นส่วนที่บ่งบอกลักษณะความช้า-เร็วที่เกิดขึ้นภายในบทเพลง ดนตรีมีการกำหนดความเร็ว-ช้าของจังหวะให้มีความแตกต่างกัน
-
3) จังหวะ(Rhythm) เน้นจังหวะของจำนวนจังหวะในห้องเพลง จังหวะเคาะ(Beats) หรืออื่นๆ ที่แสดงความหมายที่เกี่ยวข้องกับจังหวะ คุณสมบัติทั้ง 3 ประการคือ ความเร็วของจังหวะ อัตราจังหวะ จังหวะทำให้เกิดเกิดความหลากหลายภายในดนตรี
1.3 ทำนอง(Melody) การจัดเรียงของเสียงอย่างมีระบบ เกิดจากการนำเสียงสูง กลาง ต่ำ รวมถึงความสั้น-ยาวของเสียง มาเรียงกันตามแนวนอน องค์ประกอบของทำนองประกอบด้วย
1) บันไดเสียงหรือกลุ่มเสียง (Scales-mode) บันไดเสียงหรือกลุ่มเสียง คือ การจัดเรียงของเสียงอย่างมีระบบ
2) จังหวะทำนอง(Melodic rhythm) เป็นส่วนทำให้เกิดความหลากหลายของทำนอง การนำความสั้น-ยาวของเสียงแต่ละเสียงมาประกอบ
3) มิติ(Melodic dimensions) มิติของทำนองประกอบไปด้วย 2 ส่วนคือ-ความยาว(Length) ทำนองเกิดจากการนำเอาเสียงมาเรียงกันทำให้เกิดบทเพลงภายในทำนองเป็นการนำวลี หรือโมทีฟ มาเรียงต่อกัน
-ช่วงกว้าง(Range) ระยะห่างของช่วงเสียงที่มีระดับเสียงต่ำสุดและระดับเสียงสูงสุดในแนวนอน
*ทิศทางการดำเนินทำนอง (Direction) ทำนองสามารถเคลื่อนที่ได้หลายทิศทาง เช่น การขึ้นลง การเรียงของเสียงหรือการกระโดดของเสียงหรืออยู่กับที่
-
*พื้นผิว(Texture) เป็นส่วนที่แสดงลักษณะในการวางเส้นเสียงทางดนตรีเปรียบเสมือน การทอผ้าจะต้องมีการวางเส้นด้ายทั้งตามแนวตั้งและแนวนอน
3.วิวัฒนาการดนตรีไทย
ทัศนะที่ 1 สันนิษฐานว่าดนตรีไทยได้แบบอย่างมาจากอินเดีย เนื่องจากอินเดียเป็นแหล่งอารยธรรมโบราณที่สำคัญแห่งหนึ่งของโลก
*เครื่องดนตรีไทยสามารถแบ่งเป็น 4 ประเภท คือ เครื่องดีด เครื่องสี เครื่องตี เครื่องเป่า
ทัศนะที่ 2 สันนิษฐานว่าดนตรีไทยเกิดจากความคิดและสติปัญญาของคนไทย เกิดขึ้นมาพร้อมกับคนไทยตั้งแต่สมัยที่ยังอยู่ทางตอนใต้ของประเทศจีน
ดนตรีพื้นบ้าน
เป็นวงดนตรีที่ใช้บรรเลงในแต่ละท้องถิ่นเป็นกิจกรรมที่มีบทบาทอยู่เฉพาะ ในวิถีชีวิตของสังคมและวัฒนธรรมนั้นๆ
1.ภาคเหนือ ประกอบด้วยวงกองแอว วงสะล้อซึง วงปี่จุม วงกลองมองเซิง วงกลองปูเจ่ โอกาสที่ใช้ในการบรรเลงมีความแตกต่างกันไป
2.ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประกอบด้วยโปงลาง วงกันตรึม วงตุ้มโมง วงแคน โอกาสที่ใช้ในการบรรเลงนิยมบรรเลงในงานแตกต่างกันไป
3.ภาคใต้ ประกอบด้วยวงกาหลอ วงปี่พาทย์ชาตรี วงรองเง็ง วงโต๊ะครึม วงดนตรีโนราห์ วงดนตรีหนังตะลุง วงดนตรีซีละ วงดนตรีมะโย่ง
วงดนตรีลิเกป่า โอกาสที่ใช้ในการบรรเลงนิยมบรรเลงแตกต่างกันไป
-
-