Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Valvular heart disease - Coggle Diagram
Valvular heart disease
ลิ้นหัวใจไมตรัลตีบ (Mitral stenosis)
เกิดการแข็งและไม่สามารถเคลื่อนไหว ช่องของลิ้นตีบทำให้การไหลเวียนเลือดจากห้องหัวใจบนซ้ายผ่านไปสู่ห้องหัวใจล่างซ้ายเกิดการปิดกั้นช่องของลิ้นหัวใจ (valve orifice)
อาการและอาการแสดง
ปัสสาวะมาก Dyspnea Orthopnea Paroxysmal nocturnal dyspnea S1 Murmur AF HF symptom Hemoptysis
การรักษา
ยาขับปัสสาวะ
จำกัดปริมาณโซเดียม
การให้ยา เช่น digitalis ยากลุ่ม beta blockers, ให้ยา anticoagulants ลดการเกิด embolus
ลิ้นหัวใจไมตรัลรั่ว (Mitral Regurgitation)
เป็นภาวะที่ลิ้นไมตรัลไม่สามารถเปิดเชื่อกันได้อย่างสมบูรณ์ในช่วงหัวใจบีบตัวทำให้มีเลือดรั่วย้อนกลับเข้า มาใน Atrium ซ้าย ในช่วงventricle ซ้ายบีบตัว และทำให้เลือดที่ Ventricle ซ้าย ส่งออกเพื่อไปเลี้ยงร่างกายลดลง
อาการและอาการแสดง
Exertion dyspnea Palpitation Fatigue Pulmonary edema Hemoptysis HF AF Heaving Thrill Murmur
การรักษา
จำกัดกิจวัตรประจำวันที่ทำให้เกิดการอ่อนเพลีย หายใจลำบาก
ลดการรับประทานโซเดียม
ยาขับปัสสาวะ
ยากลุ่มไนเตรท digitalis ยา ACE inhibitors
ลิ้นเอออร์ติคตีบ (Aortic Stenosis)
ภาวะที่ลิ้นเอออร์ติค มีการตีบแคบ เปิดไม่ได้เต็มที่ทำให้มี การอุดกั้นการไหลเวียนของเลือดออกจาก ventricle ซ้ายเข้าสู่ Aorta ในระยะ Systole การอุดกั้นทำให้เกิดแรงต้านทาน การบีบเลือดออกหรือภาระด้านหลังของหัวใจและความดันใน Ventricle ซ้ายสูงขึ้นเพราะต้องส่งเลือดผ่านทางเปิดที่ตีบแคบนี้
อาการและอาการแสดง
Effort syncope Angina pectoris Dyspnea
การรักษา
การให้ยาปฏิชีวนะ
ป้องกันการติดเชื้อที่หัวใจ
การให้ยา digitalis ยาขับปัสสาวะ
ในรายที่หัวใจห้องล่างช้ายวาย
หลีกเลี่ยงการออกกำลังกายหนัก
ออกกำลังกายตามความสามารถของร่างกายที่ทนได้
ลิ้นเอออร์ติครั่ว (Aortic Regurgitation/Insufficiency)
ภาวะที่ลิ้นเอออร์ติดไม่สามารถปิดเชื่อมกันได้อย่างสมบูรณ์ในช่วงหัวใจคลายตัว ทำให้เลือดจากเอออร์ตารั่วย้อนกลับเข้ามาใน ventricle ซ้าย ในช่วง ventricle ซ้ายคลายตัว ventricle ซ้ายจึงขยายตัวรับเลือดที่คืนกลับและเกิดการหนาตัวอย่างผิดปกติ
อาการและอาการแสดง
Exertion dyspnea HF คลำชีพจรแรงมาก de Musset's sign ศีรษะเต้นตามจังหวะการเต้นของหัวใจ ความดัน systolic แขนขาต่างกันมาก ขามากกว่าแขน มากกว่า 20 mmHg คลำหัวใจอยู่นอกตำแหน่งเกณฑ์ปกติ
การรักษา
เหมือนกับการรักษา เอออร์ติคตีบ บรรเทาอาการ HF และป้องกันการติดเชื้อที่ทำให้ลิ้นผิดรูป
ผ่าตัดเมื่อร่างกายแสดงอาการหัวใจห้องล่างซ้ายล้มเหลว
โรคลิ้นหัวใจไตคัสปิด Tricuspid valve disease
ลิ้นไตรคัสปิด ตีบ หรือรั่ว ลดปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจและเพิ่มแรงต้านในหัวใจห้องบนขวาผ่านลิ้นที่ตีบ
อาการและอาการแสดง
Dyspnea อ่อนแรง
คลำชีพจรได้ที่คอ บวมตามแขนขา อวัยวะส่วนปลาย น้ำหนักลด
การรักษา
การให้ยาขับปัสสาวะ
ยากลุ่ม digitalis
การผ่าตัดเมื่อตีบรุนแรง การผ่าตัดอาจไม่จำเป็น ถ้าไม่แสดง pulmonary hypertension
โรคลิ้นพัลโมนิก (Pulmonic valve disease)
การตีบหรือรั่วของลิ้นพัลโมนิกนำไปสู่การลดของปริมาตรเลือดที่บีบออกจากหัวใจ เพราะเลือดไม่สามารถเข้าสู่หัวใจด้านช้ายอย่างเพียงพอที่จะควบคุมเมตาบอลิซึมของร่างกาย
อาการและอาการแสดง
Dyspnea อ่อนแรง HF
การรักษา
มุ่งการบรรเทาสาเหตุที่ทำให้เกิด
รักษาภาระหัวใจล้มเหลวด้านขวา