Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
26 palatal root displacement into left maxillary sinus with oro-antral…
26 palatal root displacement into left maxillary sinus with oro-antral fistular
ข้อมูลผู้ป่วย
ประวัติการแพ้ยา
ปฏิเสธการแพ้ยา
อาการสำคัญที่มาโรงพยาบาล
ปวดฝันบริเวณกรามซี่ซ้าย ปวดร้าวใบหน้าซีกซ้ายมา 2 วัน
ข้อมูลทั่วไป
หญิงไทยอายุ 54 ปี สถานะภาพสมรส
ประวัติการเจ็บป่วยในปัจจุบัน
ผู้ป่วยมีประวัติ ส่งตัวมาจากทันตแพทย์ เพื่อนำรักฟันออกจากโพรงอากาศแม็กซิลา เนื่องจาก รากฟันกรามบนซ้ายหักจากการถอนฟันและหลุดเข้าโพรงอากาศจึงมาโรงพยาบาล
การวินิจฉัย
26 palatal root displacement into left maxillary sinus with oro-antral fistular
สรุปภาวะผู้ป่วยก่อนรับไว้ในการดูแล
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 54 ปีสถานะภาพสมรส เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลมาด้วยอาการปวดฟันบริเวฯกรามซี่ซ้าย ปวดร้าวใบหน้าซีกซ้ายมา 2 วัน
มีประวติส่งตัวมาจากทันตแพทย์เพื่อนำรากฟันออกจากโพรงอากาศแม็กซิลา เนื่องจากรากฟันกรามบนซ้ายหักจากการถอนฟันและหลุดเข้าโพรงอากาศ
ตรวจภายในช่องปากพบบริเวณแผลถอนฟัน กรามบนซ้ายซี่ที่หนึ่งปรากฏรูทะลุโพรงอากาศขนาดประมาณ 3 มิลลิเมตร ให้ผลบวกเมื่อทดสอบด้วย nose blowing test ภาพถ่ายรังสีปลายรากฟันพบรากฟันในโพรงอากาศแม็กซิลลา ความประมาณ 7-8 มิลลิเมตร
ตรวจร่างกายพบสัญญาณชีพแรกรับปกติ การตรวจภายนอกช่่องปากปกติ
Oro-antra fistula
หมายถึง
ภาวะที่มีการติดต่อกันระหว่างช่องปากและโพลง
อากาศแม็กซิลา การถอนฟันกรามบนจึงเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะ Oro-antra fistula ได้บ่อยที่สุด
ลักษระกายวิภาคของโพรงอากาศแม็กซิลลา
โพรงอากาศแม็ทซิลลาเป็นโพรงอากาศที่อยู่ร้างจมูก (paranasal sinus) ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดมีรูปร่างเป็นทรงปิรามิตที่มีผนัง 4 ด้าน โตยมีฐานอยู่ที่ผนังต้านช้างของโพรงจมูกและมียอดอยู่ที่กระดูn zygoma และเกิดเป็น hiatus semilunars ตรงบริเวณที่กระดูกมาพบกัน โพรงอากาศแม็กซิสลา
มีขนาดความยาวในแนวหน้าหลังประมาณ 32-34 เซนติเมตร มีความกว้างประมาณ 23-25เซนติเมตร สูงประมาณ 28-33 เซนติเมตร และมีความจุประมาณ 15 - 20 ซีซี พื้นของโพรงธากาศแม็ทซิตลาต่ำกว่าพื้นของโพรงจมูกประมาณ 5-12.5 เซนติเมตร โพรงอากาศแม็ทริสลาติดต่อกับmiddle nasal meatus ของโพรงจมูกทางรูเปิดที่เรียกว่า maillary cstium ซึ่งมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 3-6 มิลสิเมตร
บางครั้งรากพี่นก็ยื่นเข้ามาในโพรงอากาศ ปสายรากฟันกรามบนขี่ที่ 2 อยู่ใกล้กับพื้นโพรงอากาศมากที่สุด รองลงไปคือฟันกรามซี่ที่ 1 ฟันกรามซี่ที่ 3 ฟันกรามน้อยขี่ที่ 2 ฟันกรามน้อยขี่ที่ 1 และฟันเขี้ย
พยาธิ
โดยปกติโพรงอากาศแม็กซิลลาและช่องปากไม่ได้เชื่อมต่อกัน แต่เมื่อเกิดพยาธิสภาพหรือความผิดปกติจะทำให้มีรูเชื่อมต่อระหว่างอวัยวะทั้งสองเรียกว่าทางเชื่อมระหว่างโพรงอากาศแม็กซิลลาและช่องปาก (Oro-Antral Communication, OAC) กรณีที่รูทะลุอยู่เป็นเวลานานจะเกิดการสร้างเนื้อเยื่อบุผิว (epithelium) ขึ้นมาปกคลุมทำให้เกิดเป็นช่องทางติดต่อถาวร (oro-antral Fistula, OAF)
สาเหตุ
อุบัติเหตุบริเวณใบหน้าการอักเสบของกระดูกขากรรไกรบน
เนื้องอกของกระดูกขากรรไกรบน
ถุงน้ำ
ซิฟิลิส
การถอนฟัน
อากาาร
เลือดออกในรูจมูกด้านที่เกิดรูทะลุ
พูดเสียงขึ้นจมูกหรือมีเสียงก้อง
รับประทานอาหารหรือดื่มน้ำจะมีอาหารหรือน้ำเข้าไปในช่องจมูก
ดูดน้ำโดยใช้หลอดลำบาก
หากเกิดช่องทางติดต่อถาวรร่วมกับการติดเชื้อในโพรงอากาศแม็กซิลลา
จะทำให้ลมหายใจมีกลิ่นเหม็น อาจมีหนองไหลจากแผลถอนฟันหรือรู้สึกว่ามีหนองไหลลงคอ กดเจ็บหรือปวดบริเวณ โพรงอากาศ หรืออาจพบก้อน
ภาวะแทรกซ้อน
การระบายของ maxillary sinus เข้าไปในช่องจมูกเป็นไปได้ไม่ดีเช่น อาจมีการอุดกั้นบริเวณ osteomatal complexหรือรูของ inferior antrostomy ตีบแคบ
necrotic tissue, osteomyelitic bone, infected antral mucosa, epithelium bridge ระหว่าง
ยังมีการติดเชื้อหลงเหลืออยู่
พยาธิสภาพที่ตรงกับผู้ป่วย
การตรวจ ภายนอกช่องปากปกติ ภายในช่องปากพบบริเวณแผลถอนฟัน กรามบนซ้ายซี่ที่หนึ่งปรากฏรูทะลุโพรงอากาศขนาดประมาณ 3 มิลลิเมตร ให้ผลบวก
เมื่อทดสอบด้วย nose blowing test ภาพถ่ายรังสีปลายรากฟันพบรากฟันในโพรงอากาศแม็กซิลลา ความยาวประมาณ 6 ถึง 7 มิลลิเมตร
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ที่มีความผิดปกติ
Complete Blood Count
WBC13.5 x109/uL(สูง)
ค่าปกติ(5-11) 109/uL
ร่างกายอาจกำลังได้รับเชื้อโรคสำคัญหรือเกิดโรคจากจุลชีพก่อโรคที่หลุดเข้าสู่ร่างกาย จึงกระตุ้นให้ร่างกายต้องเร่งผลิตสร้างเม็ดเลือดขาวขึ้นมาต่อสู้
Neutrophil90.8%(สูง)
ค่าปกติ(40-70)%
อาจกำลังเกิดโรคจากการติดเชื้อ อาจกำลังเกิดโรคเซลล์หรือเนื้อเยื่อบางจุดขาดเลือด
Lymphocyte 6%(ต่ำ)
ค่าปกติ(20-50)%
ร่างกายอาจถูกโจมตีโดยไม่รู้ตัวจากเชื้อ HIV/AIDS
Gluclose108 mg/dl(สูง)
บ่งบอกถึงภาวะ Hyperglycemia เป็นภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลกลูโคสในเลือดสูงกว่าปกติ
ค่าปกติ (70-100)
ยาที่ผู้ป่วยได้รับ
Plasil 1 amp IV PRN q 8 hrs
ยาแก้คลื่นไส้อาเจียน
กลไกการออกฤทธิ์ จับกับ Chemoreceptor tigger zone (CTZ) และออกฤทธิ์ต้านการหลั่ง Dopamine
การพยาบาลหลังการใช้ยา
ให้หลีกเลี่ยงการทำงานที่เกี่ยวกับเครื่องจักรกลและการขับรถขณะรับประทานยา
หากต้องการป้องกันอาการอาเจียนขณะรับประทานอาหาร ต้องให้รับประทานยาก่อนอาหารประมาณ 30 นาที
3.สังเกตภาวะโซเดียมในเลือดสูงและโปแตสเซียมในเลือดต่ำ โดยเฉพาะในผู้ป่วยเพราะอาจทำให้เกิดอันตรายได้
อาการข้างเคียง
ง่วงนอน อ่อนเพลีย กระสับกระสาย ปวดศีรษะ ความดันโลหิตสูง หัวใจเต้นเร็ว คลื่นไส้ ท้องผูกหรือท้องเสีย ปากแห้ง มีผื่นชื้นตามร่างกาย อาการบวม เต้านมโตในผู้ชายและหมดสมรรถภาพทางเพศ ในผู้หญิงมีน้ำนมไหลและขาดประจำเดือน
Tramal 50 mg IV PRN q 8 hrs
ยาแก้ปวดกลไกการออกฤทธิ์ เป็นสารสังเคราะห์ที่มีฤทธิ์ระงับอาการปวดได้ค่อนข้างดี แต่มีผลกดการหายใจและระบบไหลเวียนเลือดน้อยมาก
อาการข้างเคียง
อาจทำให้เกิดอาการง่วงซึม เวียนศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน อาจทำให้เกิดอาการชักได้
การพยาบาลหลังการใช้ยา
ติดตามผลช้างเคียง เช่น มึนงง ง่วงนอน การมองเห็นไม่ชัด (หลีกเลี่ยงการขับรถ) คลื่นไส้
รายงานให้แพทย์ทราบหากผู้ป่วยมีอาการคลื่นไส้ มีนงง ท้องผูกอย่างรุนแรง
ceftirazone 2 g V. bid x3 doses
กลไกการออกฤทธิ์ เป็นยาปฏิชีวนะในกลุ่มยาเซฟาโลสปอริน (Cephalosporin) ที่ออกฤทธิ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรียด้วยการทำลายผนังเซลล์ทำให้แบคทีเรียตาย ใช้ในผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อแบคทีเรียกระจายลุกลามไปทั่ว
อาการข้างเคียง
มีอาการบวมแดง เจ็บปวดในบริเวณที่ถูกฉีดยา ท้องร่วง หรือคลื่นไส้อาเจียนเล็กน้อย
paracetamol 500 mg ⨀ for fever and pain
q 4-6 hrs
กลุ่ม analgesics
กลไกการออกฤทธิ์
การออกฤทธิ์ยับยั้งการสังเคราะห์Prostaelandins
ในระบบประสาทส่วนกลางได้ดี
อาการข้างเคียง
ง่วงซึม แพ้ยา เช่น มีผื่น บวม เป็นแผลที่เยื่อบุช่องปาก มีไข้ ในขนาดที่มากเกินไปอาจทำให้เกิดตับวายและถึงแก่ความตายได้
การพยาบาลหลังการใช้ยา
ควรดื่มน้ำ หรือรับประทานอาหารเหลวบ่อยๆเพื่อช่วยลดความร้อน
ไม่ซื้อยารับประทานเองและไม่ใช้ยาเป็นเวลานาน
ระวังการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับและผู้ที่ติดแอลกอฮอล์
Pseudoephedrine 60 mg tidpc
กลุ่ม ยาแก้คัดจมูก
กลไกการออกฤทธิ์ กระตุ้นปลายประสาท Adrenergic ให้หลั่ง Norepinephrine มีผลโดยตรงต่อตัวรับ O ทำให้หลอดเลือดหดตัว ช่วยทำให้ผู้ป่วยหายใจดีขึ้น
อาการข้างเคียง
กระสับกระส่าย ปวดศีรษะ มึนงง หลงลืม ชัก มองไม่ชัด กลัวแสง คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร ความตันโลหิตสูง หัวใจเต้นผิดจังหวะ ใจสั่น เจ็บยอดอก หายใจลำบาก ปัสสาวะผิดปกติ ซีด เหงื่อออก
การพยาบาลหลังการใช้ยา
. ควรระวังในผู้ป่วยโรคหัวใจ เบาหวาน โรคต่อมไทรอยด์ ความตันในลูกตาสูง ความดันโลหิตสูง ผู้สูงอายุ
การรักษา
การผ่าตัดCaldwell-Luc operation
เป็นการผ่าตัดผ่านทาง canine fossa region ของ lower anterior antral wall โดย approach ผ่านทาง under-the-upper-lip เพื่อไม่ให้เกิดแผลเป็นบนใบหน้า CT จะเห็น defect ที่ lower anterior maxillary sinus wall อาจเห็น hematoma ได้ในระยะแรกและต่อเปลี่ยนเป็น fibrosis
แผลผ่าตัดอาจจะปิดไม่สนิท จึงเกิดรูเชื่อมต่อ ซึ่งส่วนใหญ่ มักเกิดจาก การขาดการระบายที่ดีในช่องจมูกเช่น มีการอุดกั้นของ naturalostium ของ maxillary sinus นอกจากนั้นอาจเกิดตามหลังการทำ transantral ligation ของ internal maxillary artery ได้ในการรักษา posterior epistaxis'
รากฟันที่นำออกจากโพรงอากาศ
ฟันกรามบนซี่ซ้าย และรากฟันที่หัก
buccal advancement flap
ศัลยกรรมปิดทางเชื่อมระหว่างโพรงอากาศแม็กซิลาและช่องปากด้วยวิธี buccal advancement flap ขลิบกระดูกด้านแก้ม(buccal bone)โดยใช้รอนเจอร์ฟอร์เซ็บ(rongeur forceps)เพื่อลดความสูงของกระดูก และลดความตรึงของแผ่นโลหะ โดยใช้มีดเบอร์ 15 กรีดเยื่อหุ้มกระดูกในแนวขว้างของความยาวแผ่นเหงือก(horizontal periostealreleasing incision) จนแผ่นเหงือกสามารถยืดมาปิดรูได้สนิท ระหว่งแผ่นเหงือกและเพดาน
ข้อดี
เป็นแผ่นเหงือกที่มีฐานกว้าง ทำให้มีเลือดมาหล่อเลี้ยงพอ สามารถทำได้ง่าย(adequate vascularization)
ข้อเสีย
ความลึกของช่องปากส่วนหน้าลดลง ส่งผลต่อการใส่ฟันเทียมในอนาคต
หลังการผ่าตัด
2สัปดาห์
3 เดือน
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
การพยาบาลก่อนผ่าตัด
วัตถุประสงค์
ผู้ป่วยเข้าใจและปฏิบัติตามคำแนะนำก่อนผ่าตัด
เกณฑ์การประเมิน :
ผู้ป่วยปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้องก่อนได้รับเข้าการผ่าตัด
การพยาบาล
1.แจ้งและอธิบายให้ผู้ป่วยทราบว่าจะทำการผ่าตัดนำเอารากฟันที่หลุดเข้าไปในโพรงอากาศออกหลังผ่าตัดอาจมีอาการปวดและชา
บริเวณแผลได้
2.ให้ผู้ป่วยงดรับประทานอาหาร
และเครื่องดื่มทุกชนิดอย่างน้อย 6 ชั่วโมง ก่อนผ่าตัด
4.ในระหว่างการผ่าตัด ถอดของมีค่าต่างๆ เครื่องประดับทุกชนิด เช่น แหวน สร้อยคอ สร้อยข้อมือ ต่างหูแว่นตา นาฬิกา คอนแทคเลนส์ และฟันปลอม (ชนิดถอดออกได้) เพื่อป้องกันการหลุดของฟันปลอมเข้าไปอุดหลอดลมขณะผ่าตัด
5.ถ่ายปัสสาวะ อุจจาระให้เรียบร้อยก่อนเข้าห้องผ่าตัด
3.ให้ผู้ป่วยแปรงฟัน อาบน้ำ สระผม ล้างหน้าให้สะอาด งดการใช้ครีมและเครื่องสำอางทุกชนิด
6.ติดป้ายข้อมือตรวจสอบ ชื่อ-สกุล วัน/เดือน/ปีเกิด
ของผู้ป่วยว่าตรงหรือไม่
7.เตรียมเบิกยาฆ่าเชื้อ Ceftriazone 1 g IV ก่อนไป OR
9.เปิดเส้นเพื่อเก็บ CBC, BUN ,Cr, FBS ,Electrolyte,
anti HIV และให้สารน้ำ 5%D/N/2 1,000 ml rate 80 cc/h
10.วัดสัญญาณชีพก่อนไปห้องผ่าตัด
11เตรีมแผ่นฟิล์มเอกซเรย์รากฟัน ไปที่ OR
เสี่ยงต่อการติดเชื้อหลังผ่าตัด และการคั่งของสารคัดหลังในโพรงอากาศ
ข้อมูลสนับสนุน
OD
:ผู้ป่วยได้รับการผ่าตัด Caldwell-Luc operation ร่วมกับ buccal advancement flab
-ผลการตรวจ CBC
WBC = 13.5x109/uL (5-11)
Neutrophil= 90.8% (40-70)
วัตถุประสงค์
ผู้ป่วยเกิดการติดเชื้อหลังการผ่าตัด และติดเชื้อจากการคั่งของสารคัดหลังในโพรงอากาศ
เกณฑ์ประเมิน
-ไม่มีอาการที่แสดงว่าติดเชื้อ เช่น
ไม่มีไข้ (36.5-37.4 องศา ) หนาวสั่น อ่อนเพลีย
-แผลผ่าตัด ไม่มีเลือดซึม ไม่บวม แดง
-ผลการตรวจ CBC มีค่าปกติ
-สารคัดหลั่ง หรือสารหลั่งจากจมูกไม่มีกลิ่นเหม็น
การพยาบาล
1.ประเมินแผลบริเวณแผลผ่าตัด และสังเกตลักษณะบาดแผล
3..บันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง โดยเฉพาะ อุณหภูมิร่างกาย (temperature) เพื่อประเมินการติดเชื้อ
4.ล้างมือก่อนและหลังทุกครั้งให้การพยาบาลทุกครั้ง และให้การพยาบาลโดยใช้หลัก Aseptic Technique
5.ดูแลให้ยา Ceftirazone 2 g V. bid x3 doses เพื่อรักษาอาการติดเชื้อ และPseudoephedrine 60 mg tid pc เพื่อลดการคั่งในช่องจมูก เพื่อทำให้สารคัดหลังระบายออกทางช่องจมูกตามแผนการรักษา และสังเกตผลขางเคียงของยา
6.ติดตามผล CBC เพื่อทราบการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญตามแผนการรักษา
7.หลีกเลี่ยงการไอแรงๆหรือขากเสมหะประมาณ 8- 10 ช.ม. หลังผ่าตัด และการเลียบริเวณแผล เพื่อลดภาวะติดเชื้อ
2.ประเมินสารคัดหลั่งที่ออกจากจมูกว่า มีกลิ่น สี ที่ผิดปกติหรือไม่
8.แนะนำการทำความสะอาดช่องปาก โดยการบ้วนด้วย.2 % Chlorhexidine หลังการผ่าตัด24 ชั่วโมง เพื่อลดแบคทีเรียในช่องปากหลังการผ่าตัด
ไม่สุขสบายจากการปวดหลังการผ่าตัด
วัตถุประสงค์
เพื่อบรรเทาความไม่สุขสบายจากความปวดในการผ่าตัด
เกณฑ์การประเมิน
ผู้ป่วยบอกสุขสบายมากขึ้น อาการปวดบรรเทาลง
ผู้ป่วยไม่มีอาการแสดงความเจ็บปวด เช่น ชีพจรเต้นเร็ว ความดันโลหิตสูง
ผู้ป่วยสามารถพักผ่อนได้อย่าง 6-8ชั่วโมง/วัน
การพยาบาล
1.ประเมินอาการปวดด้วย Pain score เพื่อทราบระดับความปวด
2.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาแก้ปวด Tramal 50 mg IV PRN q 8 hrs และparacetamol 500 mg ⨀ for fever and pain q 4-6 hrs ตามแผนการรักษา ประเมินการปวดภายหลังได้รับยา 15นาที เพื่อวางแผนการพยาบาล และสังเกตผลขางเคียงของยา
3.ประคบเย็นบริเวณแก้มข้างที่มีแผล 24-28 ชั่วโมง เพื่อบรรเทาอาการปวด
4.ให้การพยาลที่นุ่มนวล และรบกวนผู้ป่วยน้อยที่สุด เพื่อให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนอย่างเพียงพอ
5.จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบสงบ ให้ผู้ป่วยพักผ่อนได้เพียงพอ ดูแลจัดท่านอนที่สุขสบาย หลีกเลี่ยงการนอนบริเวณ
ที่ผ่าตัดเพื่อลดอาการเหนื่อยล้าซึ่งเป็นสาเหตุทำให้ความทนต่อความเจ็บปวดลดลง
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วยได้รับการผ่าตัด Caldwell-Luc operation ร่วมกับ buccal advancement flab
เสี่ยงต่อการเกิด Airway obstruction เนื่องจากมีภาวะเลือดออกหลังการผ่าตัด
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วยได้รับการผ่าตัด Caldwell-Luc operation ร่วมกับ buccal advancement flab
-มีแผลเย็บกรามบนซ้าย
วัตถุประสงค์
เพื่อไม่ให้เกิดการติดเชื้อในโพรงอากาศ
การพยาบาล
1.ประเมินแผลบริเวณแผลผ่าตัด และสังเกตลักษณะบาดแผลว่ามีเลือดออกไหม ถ้ามีเลือดออกให้ป่วยป่วยอมผ้าก๊อซไว้เพื่อห้ามเลือด
2.บันทึกประเมินสัญญาณชีพโดยเฉพาะ ลักษณะการหายใจ สังเกตอาการ (Cyanosis)
3.ให้ผู้ป่วยบ้วนปากด้วย 0.2 % Chlorhexidine หลังการผ่าตัด 24 ชั่วโมง เพื่อล้างคาบเลือดภายในช่องปากที่อาจไหลลงไปอุดกั้นทางเดินหายใจได้
4.จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนตะแคงศีรษะสูงเพื่อให้หายใจได้สะดวกและช่วยระบายน้ำลายและเลือดในปากให้ไหลออกมา
เกณฑ์การประเมิน
การพยาบาลหลังผ่าตัด
วัตถุประสงค์
เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด
เกณฑ์การประเมิน
ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด
การพยาบาลหลังผ่าตัด
1.บันทึกVital sing
• วัดทุก 15 นาที x4ครั้ง เมื่อไม่มีการเปลี่ยนแปลงให้วัดทุก 30 นาที
• วัดทุก30 นาที x4ครั้ง เมื่อไม่มีการเปลี่ยนแปลงให้วัดทุก 1ชั่วโมง
• วัดทุก 1 ชั่วโมง x4ครั้ง เมื่อไม่มีการเปลี่ยนแปลงให้วัดทุก 4ชั่วโมง ประกอบไปด้วยค่าความดันโลหิตปกติอยู่ที่ 120/80 mmHg อุณหภูมิร่างกายปกติอยู่ที่36.5-37.4 องศา ชีพจรปกติอยู่ที่80-100 ครั้ง/นาที อัตราการหายใจปกติอยู่ที่16-20 ครั้ง/นาที
2.ประเมินแผล flap เพราะแผล flap ต้องมีเลือดมาเลี้ยง
อย่างเพียงพอ และการไหลกลับของเลือดต้องดี แผลจึงจะหาย
ประเมินทุก 2 ชั่วโมง ภายหลังการผ่าตัดเป็นเวลา 2-3 วัน
• ต่อมาประเมินทุก 4 ชั่วโมง เพราะแผล flap ต้องมีเลือดมาเลี้ยงอย่างเพียงพอ และการไหลกลับของเลือดต้องดี แผลจึงจะหาย
3.ให้ผู้ป่วยกัดผ้าก๊อสเพื่อห้ามเลือด บริเวณแผลผ่าตัด
4.เฝ้าระวังการอุดกั้นของทางเดินหายใจจากสิ่งคัดหลัง ภายหลังผ่าตัด
5.จัดท่านอนศีรษะสูง 30 องศา (Fowler position ) เพื่อให้ปอดขยาย
6.หลีกเลี่ยงการไอจาม การกลืน และบ้วนน้ำแรงๆ
8.การทำความสะอาดช่องปาก โดยการใช้2 % Chlorhexidine บ้วนปากหลังการผ่าตัด 24 ชั่วโมง
7.ไม่ใช้ลิ้นเลียแผล ไม่ใช้หลอดดูดเมื่อดื่มของเหลวต่าง ๆ
ไม่สูบบุหรี่ ประคบแก้มด้วยความเย็น
9.ให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารเหลวก่อน จนกว่าจะตัดไหม (ประมาณ 10 วัน หลังผ่าตัด) แล้วจึงเริ่มด้วยอาหารอ่อน โดยเคี้ยวข้างที่ไม่มี fistula
10.กระตุ้นให้ผู้ป่วยลุกเดินออกจากเตียงภายหลังผ่าตัดโดยเร็ว เพื่อลดโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนภายหลังผ่าตัด ได้แก่ปอดอักเสบ หลอดเลือดดำตีบ หลอดเลือดที่ขาและปอดอุดตัน เป็นต้น ซึ่งจะช่วยให้ผู้รับบริการมีระยะพักฟื้นสั้นลง จึงลดระยะเวลาการพักรักษาตัวในโรงพยาบาล
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยปฏิบัติตัวให้ถูกต้อง ภายหลังกลับบ้าน
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้ป่วยปฏิบัติตัวภายหลังกลับบ้านได้ถูกต้อง
เกณฑ์การประเมิน
ผู้ป่วยปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง
การพยาบาล
การวางแผนจำหน่าย (Discharge Plan) โดยใช้ หลัก D METHOD
D -Diagnosis ให้ความรู้เรื่องสาเหตุ อาการ การปฏิบัติตัวที่ถูกต้องของการผ่าตัดเอารากฟันที่หลุดออกจากเพดานปาก
E -Environment การจัดการสิ่งแวดล้อมที่บ้านให้เหมาะสมกับภาวะสุขภาพให้เหมาะสมกับภาวะสุขภาพของตนเอง ให้ผู้ป่วยอยู่ในบริเวณที่อากาศถ่ายเทสะดวก หลีกเลี่ยงการขึ้น-ลงบันได
M -Medicine แนะนำการใช้ยาที่ตนเองได้รับอย่างละเอียด สรรพคุณของยา ขนาด วิธีใช้ ข้อควรระวังในการใช้ยา ตลอดจนการสังเกตภาวะแทรกซ้อนรวมทั้งข้อห้ามการใช้ยาด้วย
T -Treatment การดูแลรักษาแผลบริเวณปาก ไม่เอาลิ้นเลียบริเวณเเผล รวมถึงการเฝ้าสังเกตอาการตนเอง การมาตรงตามนัดแพทย์ การมาตัดไหม การรับประทานอาหาร ควรรับประทานที่อ่อนไม่ร้อนไม่เผ็ด ห้ามกระทบบริเวณแผลผ่าตัดแบบรุนแรง หากมีอาการผิดปกติให้มาพบแพทย์
H -Health การส่งเสริม ฟื้นฟูสภาพทางด้านร่างกายและจิตใจ ไม่ให้ผู้ป่วยเกิดความเครียดระหว่างพักรักษา ตลอดจนการป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆ แนะนำให้ผู้ป่วยออกกำลังกายเบาๆ
O -Out patient การมาตรวจตามนัด การติดต่อขอความช่วยเหลือจากสถานพยาบาลใกล้บ้าน ในกรณีเกิดภาวะฉุกเฉินตลอดจนการส่งต่อผู้ป่วยให้ได้รับการดูแลต่อเนื่อง
D -Diet เลือกรับประทานอาหารเหมาะสมกับภาวะร่างกาย ไม่รับประทานอาหารที่มีรสเผ็ดจัด ร้อน แนะนำให้รับประทานอาหารอ่อนๆ และหลีกเลี่ยงหรืองดอาหารที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ