Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิดชนิดไม่เขียว (acyanotic heart disease),…
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิดชนิดไม่เขียว (acyanotic heart disease)
Atrial Septal Defect (ASD)
การรักษา
ASD ปิดได้เองในช่วงอายุ 3 ปี ถ้ารูรั่วมีขนาดเล็กกว่า 5 มม.
การดูแลสุขภาพปากและฟัน เราะมีโอกาสติดเชื้อ
รักษาด้วยยา:
เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบรักษาโดยใช้ยาปฏิชีวนะ
รักษาภาวะหัวใจวาย คือ ยา Lanoxin, Lasix
การผ่าตัด:โดยการเย็บปิดผนังกั้นของ ASD
อาการ
ขนาดเล็ก
ติดเชื้อระบบทางเดินหายใจบ่อย
เติบโตปกติหรือช้า
ขนาดปานกลาง
เติบโตปกติหรือช้า
ติดเชื้อระบบทางเดินหายใจบ่อย
ขนาดใหญ่
อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย เหงื่อออกมาก ซึม ความดันต่ำ
สาเหตุ
1.1 เกิดจากการที่เลือดไหลลัดวงจรจากซ้ายไปขวา(lefttorightshunt)คือ มีทางเชื่อม ระหว่างระบบเลือดแดงและเลือดดำ ซึ่งมีความดันทางเลือดแดงสูงกว่าเลือดดำ ได้แก่ VSD (Ventricular Septal Defect), ASD (Atrial Septal Defect), PDA (Patent Ductus Arteriosus)
1.2 เกิดจากการอุดกั้นการไหลเวียน (obstructive lesion) ได้แก่ PS (Pulmonary Stenosis), AS (Aortic Stenosis), COA (Coarctation of Aorta)
พยาธิสภาพ
เลือดแดงในหัวใจห้องบนซ้ายมีความดันสูงกว่าด้านขวา จะไหลผ่านตรงทางรูรั่วที่ผิดปกติ เข้าไปหัวใจห้องบนขวาลงสู่ห้องล่างขวา เป็นผลให้เกิด left to right shunt ทำให้หัวใจห้องบนขวาและ ห้องล่างขวาโตและขยายตัวข้ึนเนื่องจากต้องทำหน้าที่เพิ่มข้ึน เมื่อเลือดที่จำนวนมากกว่าปกติน้ีไหลผ่านออกสู่หลอดเลือดในปอดเป็นเวลานานนับปี ทำให้หลอดเลือดในปอดชั้น media หนาตัวข้ึน เป็นการเพิ่มแรงต้านที่ปอดเพื่อให้เลือดไหลผ่านปอดน้อยลง แต่ขณะเดียวกัน หัวใจห้องล่างขวาต้องออกแรงบีบตัวมากข้ึน เพื่อดันเลือดจำนวนมากออกไปให้หมด เกิดภาวะ tricuspid valve รั่วตามมาได้
ความหมาย
มีความผิดปกติในการสร้างผนังกั้น เอเตรียมที่ไม่สมบูรณ์ ทำให้เกิด รูรั่วเป็นทางติดต่อระหว่างเอเตรียมซ้ายและขวา การเกิดรูรั่วอาจมีเพียงรูเดียวหรือหลายรูก็ได้ พบรูรั่วขนาดต่างๆ กัน
การวินิจฉัย
ตรวจร่างกาย
ventricle ขวาโตเสียงที่หน่ึง(S1)ต่ำกว่าปกติที่บริเวณลิ้น ไตรคัสปิด
ซักประวัติ
หายใจเร็ว เหนื่อยง่าย อกบุ๋มไม่มีอาการเขียว ตัวเล็ก
ภาพรังสีทรวงอก
หัวใจโตเล็กน้อยมี ventricle ขวาโตและอาจจะมี atrium ขวาโต มีหลอดเลือดท่ีปอดเพิ่ม
คลื่นไฟฟ้า
อาจมี atrium ขวาโต พบว่า มี P wave สูงแหลม
Echocardiography
ขนาดของ atrium ขวาและ ventricle ขวา รวมทั้งหลอดเลือดแดง pulmonary มีขนาดใหญ่ข้ึน
การพยาบาล
1 . ดูแลให้อาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ มีโปรตีนและแคลอรี่เพียงพอสำหรับการเจริญเติบโต ที่สำคัญคืออาหารที่ให้รับประทานต้องเป็นอาหารที่มี ลดเกลือหรือลดเค็ม เพื่อป้องกันภาวะน้ำเกิน จนส่งผลให้หัวใจทำงานมากกว่าปกติ
2.ดูแลให้น้ำในปริม าณที่จํากัด หรือจํากัดปริมาณนมต่อวันตามแผนการรักษา เพื่อป้องกันการคั่งของน้ำในร่างกาย
3.ดูแลให้ยาตามแผนการรักษา ซึ่งส่วนใหญ่ ยาที่ได้รับ จะเป็นกลุ่มยา lanoxin
4.ดูแลเพื่อป้องกันการติดเชื้อที่ปอดโดยดูแล เรื่องความสะอาดของช่องปาก หลีกเลี่ยงการอยู่ใกล้ชิดกับบุคคลที่เป็นหวัดไอเจ็บคอ หรือ หลีกเลี่ยงการพาบุตร ไปที่ชุมชน หรือ ถ้าบุตรเริ่ม เป็นหวัดควรรีบรักษาให้หายโดยเร็ว
ประเมิน v/s ทุก 4 ชั่วโมง
Patent Ductus Arteriosus (PDA)
ความหมาย
เกิดจากการที่หลอดเลือด ductus arteriosus (หลอดเลือดที่เชื่อมระหว่างส่วนต้นของ descending aorta กับส่วนต้นของหลอดเลือดแดงpulmonary ข้างซ้าย)ไม่ปิดภายหลงั ทารกคลอดซึ่งปกติควรปิด ภายใน 1 – 4 สัปดาห์ ในทารกท่ี ductus arteriosus ไม่ปิดทำให้เลือดแดงไหลจาก aorta เข้าสู่ pulmonary artery ได้ พบร้อยละ 5 –10 ของโรคหัวใจแต่กำเนิดทั้งหมด
การรักษา
1.ในรายท่ีไม่มีอาการควรทำการผ่าตัด โดยผูกหรือตัด ductusarteriosus เมื่อผู้ป่วยอายุเกิน1ปี ไปแล้ว เนื่องจากก่อนอายุ 1 ปี มีโอกาสที่ ductus arteriosus อาจจะปิดได้เอง ในผู้ป่วย PDA ทุกราย ควรได้รับการผ่าตัด เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน เช่น การติดเชื้อที่เยื่อหุ้มหัวใจ เกิด pulmonary hypertension เนื่องจากการผ่าตัดปิด PDA ได้ผลดีมาก
การรักษาทางยา ในทารกแรกคลอดหรือทารกที่คลอดก่อนกาหนดและมีอาการหัวใจวาย ให้ยา Indomethacin 0.2 mg/Kg. ทางปากหรือหลอดเลือดดำ ซ้ำ 3 คร้ัง ห่างกัน8 –12 ชม.
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
จากอาการตัวเล็ก น้ำหนักน้อย หายใจเร็ว
EKG
พบว่าหัวใจล่างซ้ายโต
การตรวจร่างกาย
ได้ยิน murmur ที่ลิ้น pulmonic
ชีพจรเต้นแรง
Pulse pressure กว้างกว่า1/2 ของความดัน
Chest x-ray
พบ ventricle ซ้ายโต หลอดเลือด pulmonary artery มีขนาดใหญ่ข้ึน หลอดเลือดท่ีปอดเพิ่มข้ึน
echocardiogram
พบว่า มีหัวใจด้านซ้ายโต วัด ขนาดของ ductus arteriosus ได้
สาเหตุ
1.1 เกิดจากการที่เลือดไหลลัดวงจรจากซ้ายไปขวา(lefttorightshunt)คือ มีทางเชื่อม ระหว่างระบบเลือดแดงและเลือดดำ ซึ่งมีความดันทางเลือดแดงสูงกว่าเลือดดำ ได้แก่ VSD (Ventricular Septal Defect), ASD (Atrial Septal Defect), PDA (Patent Ductus Arteriosus)
1.2 เกิดจากการอุดกั้นการไหลเวียน (obstructive lesion) ได้แก่ PS (Pulmonary Stenosis), AS (Aortic Stenosis), COA (Coarctation of Aorta)
พยาธิสภาพ
ความดันของเลือดในหลอดเลือด aorta สูงกว่าในหลอดเลือดแดง pulmonary เป็นเหตุให้เลือดไหลจาก aorta กลับมายังท่ีหัวใจห้องบนซ้ายลงสู่ห้องล่างซ้ายออกทาง aorta ใหม่วนเวียนไปเรื่อยๆ เลือด ท่ีมีออกซิเจนไหลเวียนผ่านปอดใหม่ ทำให้หัวใจด้านซ้ายทำงานมากกว่า ปกติและเกิดหัว ใจโต เมื่อเลือดแดงไหลเวียนไปสู่ปอดมากข้ึน จะทำให้ความดันในปอดสูง เกิด right to left shunt เลือดดำจะผสมกับเลือดแดงไปเลี้ยงส่วนล่างของร่างกายทำให้เกิดอาการเขียวที่ขาและเท้า แต่แขนและใบหน้าไม่มีอาการเขียวเรียกภาวะน้ีว่า differentialcyanosis ซึ่งในระยะท้ายจะเกิดภาวะหัวใจวายได้
อาการ
ขนาดเล็ก
ผู้ป่วยมักไม่มีอาการ ตรวจร่างกายพบหัวใจไม่โต หรือโตเล็กน้อย ได้ยิน เสียง murmur
ขนาดปานกลาง
ผู้ป่วยอาจมีอาการเหนื่อยง่ายเล็กน้อย มีการติดเชื้อทางเดินหายใจบ่อยๆ หัวใจซีกซ้ายโตพัฒนาการไม่สมวัย
ขนาดใหญ่
ผู้ป่วยจะมีอาการมากตั้งแต่วัยทารก ในทารกคลอดก่อนกำหนดจะมีหัวใจวาย เหนื่อยหอบ น้ำหนักตัว ไม่เพิ่มติดเชื้อทางเดินหายใจบ่อยๆ มีอาการเขียวปลายนิ้วเท้า หัวใจโต
การพยาบาล
1.ดูแลเพื่อป้องกันการติดเชื้อที่ปอดโดยดูแลเรื่องความสะอาดของช่องปากและฟันอย่างสม่ำเสมอ
2.ดูแลให้อาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ มีโปรตีนและแคลอรี่เพียงพอสําหรับการเจริญเติบโต
ดูแลให้น้ำในปริมาณที่จํากัดหรือจํากัดปริมาณนมต่อวันตามแผนการรักษา เพื่อป้องกันการคั่งของน้ำในร่างกาย
ประเมิน v/s ทุก 4 ชั่วโมงและสังเกตอาการที่ผิดปกติ เช่น หายใจเหนื่อยหอบมากขึ้น มีอาการเขียวมากขึ้น
ส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กได้ออกกำลังกายตามศักยภาพแต่ต้องไม่เหนื่อยจนเกินไป หลีกเลี่ยงกิจกรรมที่ทำให้ออกแรงมาก เช่น การร้องไห้การเบ่งอุจจาระ
Ventricular Septal Defect (VSD)
ความหมาย
เป็นความพิการของหัวใจที่มีทางเช่ือมติดต่อระหว่าง ventricle ซ้ายและขวาพบได้บ่อยที่สุด ในโรคหัวใจพิการแต่กาเนิดทั้งหมด ประมาณร้อยละ 20 –30 วินิจฉัยได้ตั้งแต่วัยทารก แต่อุบัติการณ์ จะลดลงเมื่อเด็กอายุเกิน 1 ปีเพราะอาจมีการปิดของ VSD ได้เอง
สาเหตุ
1.1เกิดจากการที่เลือดไหลลัดวงจรจากซ้ายไปขวา(lefttorightshunt)คือ มีทางเชื่อม ระหว่างระบบเลือดแดงและเลือดดำ ซึ่งมีความดันทางเลือดแดงสูงกว่าเลือดดำ ได้แก่ VSD (Ventricular Septal Defect), ASD (Atrial Septal Defect), PDA (Patent Ductus Arteriosus)
1.2 เกิดจากการอุดกั้นการไหลเวียน (obstructive lesion) ได้แก่ PS (Pulmonary Stenosis), AS (Aortic Stenosis), COA (Coarctation of Aorta)
การรักษา
การผ่าตัด
ได้แก่การผ่าตัดเพื่อบรรเทาอาการโดยการรัดpulmonaryarteryใหเ้ล็กลง ในกรณีไม่สามารถควบคุมภาวะหัวใจวายได้ การผ่าตัดเย็บปิดรูพิการ หรือการผ่าตัดเปิดหัวใจเพื่อแก้ไขความผดิปกติของหัวใจ
การดูแลสุขภาพทั่วไป
เป็นการรักษาภาวะติดเชื้อและภาวะไข้ รวมทั้งโรคแทรกซ้อนอื่น ๆ การใช้ยาเพื่อป้องกัน Infective endocarditis
ขนาดเล็กและขนาดกลาง
ให้การดูแลสุขภาพอนามัยที่ดี ระมัดระวงั และป้องกันการติดเชื้อท่ีเยื่อหุ้มหัวใจ โดยการดูแลสุขภาพของปาก ป้องกันไม่ให้ฟันผุ
ขนาดใหญ่
เป็นสาเหตุท่ีทำให้เกิดภาวะหัวใจวาย ต้องทำการผ่าตัด
กรณีมีภาวะหัวใจวาย
ให้ยา digitalis ยาขับปัสสาวะยาขยายหลอดเลือด
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
หายใจเร็วผิดปกติ เด็กตัวเล็ก โตช้า
EKG
พบ leftatrium และ ventricle ทั้งสองโต
การตรวจร่างกาย
พบเสียง murmur
echocardiogram
มองเห็นขนาดรูรั่วและห้องหัวใจที่โตข้ึน
Chest x-ray
ขนาดเล็ก: ขนาดหัวใจปกติหรือโตเล็กน้อย
ขนาดปานกลาง : มักมีหัว ใจโต หลอดเลือดที่ปอดเพิ่มข้ึน
ขนาดใหญ่ : มักพบ หัวใจโตมาก หลอดเลือดท่ีปอดเพิ่มข้ึนมาก
อาการ
ขนาดเล็ก
ผู้ป่วยมักไม่มีอาการ การเจริญเติบโตปกติ
ขนาดปานกลาง
ผู้ป่วย อาจมีอาการเหนื่อยง่ายตัวเล็กและมีการติดเชื้อทางเดินหายใจ บ่อยพัฒนาการทางร่างกายช้า ดูดนมลำบาก ต้องพักเหนื่อย ตรวจพบหัวใจโตเล็กน้อย
ขนาดใหญ่
มักจะเริ่มมีอาการเหนื่อยง่ายเมื่อทารกอายุประมาณ 1 – 2 เดือน เลี้ยงไม่โต ติดเชื้อทางเดินหายใจบ่อย ตัวเล็ก หายใจเหนื่อยหอบ มักจะไม่มีอาการเขียวขณะอยู่นิ่ง แต่อาจจะเขียว เล็กน้อยเวลาร้อง หรือออกแรงมากๆ ตรวจพบหัวใจโตและมีอาการแสดงของภาวะหัวใจวาย เช่น ตับโต หัวใจเต้นเร็วและแรง
พยาธิสภาพ
ความผิดปกติของระบบการไหลเวียนโลหิต ซึ่งเป็นผลมาจาก VSD จะมากหรือน้อยข้ึนอยู่กับ ขนาดของรูรั่วระหว่าง ventricle โดยที่เลือดจะไหลลัดจาก ventricle ซ้ายไปขวาไหลไปสู่ปอดเพื่อแลกเปลี่ยนออกซิเจน แล้วไหลสู่หัวใจห้องบนซ้ายลงสู่หัวใจห้องล่างซ้าย ซึ่งต้องทำงานเพิ่มมากข้ึนบีบตัวให้เลือดส่วนหน่ึงออกไปสู่ระบบไหลเวียนโลหิตทั่วร่างกาย โดยที่เลือดอีกส่วนหน่ึงผ่านรูรั่วกลับเข้าสู่หัวใจห้องล่างขวาใหม่ กล้ามเน้ือหัวใจห้องล่างซ้ายจึงโตกว่า ปกติ
เมื่อเลือดลัดวงจรจากซ้ายไปขวานานๆ เข้าถ้าแรงต้านของหลอดเลือด pulmonary สูงกว่าแรง ต้านของหลอดเลือดทั่วร่างกาย จะทำให้มีการไหลกลับของเลือด คือ แทนที่เลือดจะไปสู่ปอด เลือดจะลัดวงจรไหลย้อนผ่านทางเปิดจากหัวใจห้องล่างขวาไปซ้าย (right to left shunt) ทำให้เลือดดำไปเลี้ยงทั่วร่างกาย ผู้ป่วยจึงเกิดอาการเขียว เรียกว่า Eisenmenger’ s syndrome
การพยาบาล
ดูแลให้เด็กได้รับสารอาหารเพียงพอกับความต้องการของร่างกายและกระตุ้นให้มีการพัฒนา การเคลื่อนไหวที่เหมาะสม
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างสม่ำเสมอ
แนะนำบิดามารดาแนะนำบิดามารดาให้มีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเจริญเติบโตและมีพัฒนาการตามวัยเพื่อสร้างความเข้าใจในสภาพการที่เป็นจริงของเด็ก
4.ให้เวลารับฟังข้อมูล การพยาบาลเด็กป่วย จากครอบครัวด้วยท่าทีที่เต็มใจ พร้อมเปิดโอกาส ให้ครอบครัวได้ระบายความรู้สึกซักถามปัญหาต่างๆ เกี่ยวกับการดูแลเด็ก จากนั่นจึงให้คำแนะนําหรือให้ข้อมูลต่างๆอย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับปัญหา
ประเมิน v/s ทุก 4 ชั่วโมงและสังเกตอาการที่ผิดปกติ เช่น หายใจเหนื่อย หอบมากขึ้น มีอาการเขียวมากขึ้น
ส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กได้ออกกําลังลังกาย ตามศักยภาพแต่ต้องไม่เหนื่อยจนเกินไป กิจกรรมที่ทําให้ออกแรงมาก
Coarctation of Aorta (COA)
การวินิจฉัย
ตรวจพิเศษ
EKG
chest x-ray
echocardiogram
การซักประวัติ
อาการและอาการแสดง
การตรวจร่างกาย
รูปร่างหน้าตา
Turner’s syndrome คือตัวเตี้ยเต้านม 2 ข้างห่างกัน
ความดัโลหิตสูง
ขาจะเย็นกว่าแขน
ปวดศีรษะ เป็นลม
สาเหตุ
1.1 เกิดจากการที่เลือดไหลลัดวงจรจากซ้ายไปขวา(lefttorightshunt)คือ มีทางเชื่อม ระหว่างระบบเลือดแดงและเลือดดำ ซึ่งมีความดันทางเลือดแดงสูงกว่าเลือดดำ ได้แก่ VSD (Ventricular Septal Defect), ASD (Atrial Septal Defect), PDA (Patent Ductus Arteriosus)
1.2 เกิดจากการอุดกั้นการไหลเวียน (obstructive lesion) ได้แก่ PS (Pulmonary Stenosis), AS (Aortic Stenosis), COA (Coarctation of Aorta)
อาการ
ในทารกแรกเกิด
อาการของหัวใจวาย ได้แก่ หายใจเหนื่อยหอบ เลี้ยงไม่โต ตรวจร่างกายจะพบว่า มีหายใจเร็ว ชีพจรท่ีแขนจะแรงกว่าที่ขา
ในเด็กโต
ไม่มีอาการผิดปกติ ถ้ามีอาการมักจะเป็นผลจากภาวะแทรกซ้อน เช่น ความดันโลหิตสูงภาวะหัวใจวายและติดเชื้อที่เยื่อหุ้มหัวใจ
ความหมาย
การตีบแคบหรืออุดตันของส่วนใดส่วนหน่ึงของหลอดเลือด aorta ซึ่งส่วนใหญ่มักจะ พบที่ aortic arch
พยาธิสภาพ
aorta ส่วนที่เป็ น coarctation แคบลง ทำให้หัวใจห้อง ventricle ซ้ายทำงานหนักมาก และ aorticblood flow ลดลงเลือดไปเลี้ยงกล้ามเน้ือหัวใจลดลงและทำให้การทำงานของventricle ซ้าย เสียไปเป็นผลให้ความดันเลือดใน atrium ซ้ายสูงข้ึนมี lefttorightshunt ทำให้เกิดอาการหัวใจวาย ในเด็กโตจะมีอาการท่ีสำคัญ คือความดันโลหิตในส่วนของแขนสูงกว่าที่ขา pulsepressure จะกว้าง
การรักษา
รักษาทางยาdigitalisในรายที่มีภาวะหวัใจวาย
Transluminal angioplasty with Balloon dilation หลัง dilate อาจเกิด aneurysm ได้
ผู้ป่วยที่ไม่มีอาการหรือมีอาการไม่รุนแรง แนะนำให้ทำผ่าตัด เมื่ออายุ 4–5 ปี โดยทำการตัดหลอดเลือดส่วนที่ตีบออก และต่อส่วนปลายทั้งสองข้างเข้าด้วยกัน (end to end anastomosis) หรือการ ตัดหลอดเลือดส่วนท่ีตีบออก ซึ่งหลังผ่าตัด อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนได้บ่อย คือ ภาวะเลือดออกใน กะโหลกศีรษะ ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดทะลุ หัวใจวาย หัวใจอักเสบ และมีอาการระบบทางเดิน อาหาร ได้แก่ ปวดทอ้ง ท้องอืด คลื่นไส้ อาเจียน
การพยาบาล
ดูแลให้อาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ มีโปรตีนและแคลอรี่เพียงพอสําหรับการเจริญเติบโตที่สําคัญ คืออาหารที่ให้รับประทาน ต้องเป็นอาหารที่ลดเกลือหรือลดเค็ม
เปิดโอกาสให้ครอบครัวได้ระบายความรู้สึก ซักถามปัญหาต่างๆ เกี่ยวกับการดูแลเด็ก จากนั้นจึงให้คำแนะนําหรือให้ข้อมูลต่างๆอย่างเหมาะสมและสอดคล้องกัปัญหา
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างสม่ำเสมอ ดูแลและกระตุ้นให้เด็กมีการพัฒนาการเคลื่อนไหวที่เหมาะสม และหลีกเลี่ยงกิจกรรมที่ทําให้ออกแรงมาก เช่น การร้องไห้ การเบ่งถ่ายอุจจาระ
1.ประเมิน v/s ทุก 4 ชั่วโมงและ สังเกตอาการที่ผิดปกติ เช่น หอบมากขึ้น มีอาการเขียวมากขึ้นหายใจเหนื่อย
Pulmonic stenosis (PS)
อาการ
มีอาการตีบแคบปานกลาง
ผู้ป่วยอาจไม่มีอาการหรือมีอาการเหนื่อยง่ายเพียงเล็กน้อยยเวลาออกแรง พบ systolic murmur
มีอาการตีบแคบน้อย
ผู้ปวยจะไม่มีอาการ อาจพบ systolic murmur
มีอาการตีบแคบมาก
ผู้ป่วยจะมีอาการของภาวะหัวใจซีกขวาวายหรือมีอาการเขียวเล็กน้อยในเด็กเล็ก ส่วนในเด็กโตมัก มีอาการเหนื่อยง่าย อาจมีอาการเขียว พบ systolic murmur บางรายอาจมีการ เป็นลมหมดสติ หรือถึงขั้น เสียชีวิต ในขณะออกกำลังกายได้
พยาธิสภาพ
เกิดการอุดกั้นของทางออกของ ventricle ขวา ทำให้ ventricle ขวาต้องบีบตัวแรงข้ึน เพื่อให้มีปริมาณของเลือดไปปอดเพียงพอ กล้ามเน้ือของ ventricle ขวาจึงหนาตัวข้ึน ส่งผลให้เลือดจาก atrium ขวาไหลลง ventricle ขวาได้ไม่สะดวก atrium ขวา จึงมีขนาดใหญ่และผนังหนาข้ึน และอาจทำให้ความดันใน atrium ขวาสูงกว่า atrium ซ้ายเกิดเลือดไหลลัด วงจรจาก atrium ขวาไปซ้าย(righttoleft shunt) ทำให้เกิดอาการเขียวได้
สาเหตุ
เกิดจากการที่เลือดไหลลัดวงจรจากซ้ายไปขวา(lefttorightshunt)คือ มีทางเชื่อม ระหว่างระบบเลือดแดงและเลือดดำ ซึ่งมีความดันทางเลือดแดงสูงกว่าเลือดดำ ได้แก่ VSD (Ventricular Septal Defect), ASD (Atrial Septal Defect), PDA (Patent Ductus Arteriosus)
เกิดจากการอุดกั้นการไหลเวียน (obstructive lesion) ได้แก่ PS (Pulmonary Stenosis), AS (Aortic Stenosis), COA (Coarctation of Aorta))
การรักษา
รายที่เป็น mild pulmonary stenosis ไม่ต้องผ่าตดั
ในรายที่มีอาการมาก ทำผ่าตัด pulmonary valvotomy และ balloon valvuloplasty เพื่อขยายลิ้น pulmonary
ให้คำแนะนำในการป้องกันการติดเชื้อที่ลิ้นหัวใจและผนังหัวใจ
ความหมาย
การตีบของลิ้น pulmonary มีผลให้การไหลของเลือดจากหัวใจห้องล่างขวาไปยัง pulmonary artery ได้ยากข้ึน
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
ฟังได้ systolic murmur บริเวณอกด้านซ้ายด้านบนคลำได้ ventricle ขวาโต
EKG
ventricle ขวาโต atrium ขวาโต
chestx-ray
พบมีการโป่งพองของ pulmonaryartery หัวใจหอห้องบน และล่างขวาโตหลอดเลือดที่ปอดมักจะน้อยลง
echocardiogram
พบ atriumขวาโต ventricle ขวาหนาข้ึนดู โป่งพอง และมีการตีบแคบของหลอดเลือด pulmonary
การซักประวัติ
การพยาบาล
ประเมิน v/s ทุก 4 ชั่วโมง วัด oxygen saturation และ สังเกตอาการที่ผิดปกติ เช่น หายใจเหนื่อย หอบมากขึ้น มีอาการเขียวมากขึ้น
4.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันอย่างสม่ำเสมอ
เปิดโอกาสให้ครอบครัวได้ระบายความรู้สึก ซักถามปัญหาต่างๆ เกี่ยวกับการดูแลเด็ก จากนั้นจึงให้คำแนะนําหรือให้ข้อมูลต่างๆอย่างเหมาะสม และส่งเสริมสนับสนุน ให้เด็กได้ออกกําลังลังกาย ตามศักยภาพแต่ต้องไม่เหนื่อยจนเกินไป
ดูแลให้อาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ มีโปรตีนและแคลอรี่ เพียงพอ ที่สําคัญคือ อาหารที่ให้รับประทานต้องเป็นอาหารที่ลดเกลือหรือลดเค็ม
นางสาวสาวมิสบะห์ จูเกะ 621001069
ณัฏฐณิชา ศรีบุณยวัฒน. (2562). การพยาบาลเด็กป่วยโรคหัวใจพิการแต่กำเนิด. สืบค้นเมื่อ 29 สิงหาคม 2564, จาก
https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/download/232579/158989/