Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเจริญเติมโตและพัฒนาการของวัยทารกและพฤติกรรมความต้องการพื้นฐานของทารก …
การเจริญเติมโตและพัฒนาการของวัยทารกและพฤติกรรมความต้องการพื้นฐานของทารก
การเจริญเติบโต
การเจริญเติบโตของฟัน
-
เด็กอายุต่ำกว่า 2 ปีโดยใช้สูตรดีงนี้
*อายุเป็นเดือน = 6 + จำนวนฟัน
ฟันแท้มี 32 ซี่ ฟันแท้ซี่แรกจะเริ่มขึ้น
เมื่ออายุประมาณ 6 เดือน
-
-
ประเมินน้ำหนักและส่วนสูง
อายุ 4 - 6 เดือน
ทารกในวัยนี้จะดื่มนมมากขึ้น และน้ำหนักจะค่อย ๆ เพิ่มขึ้นประมาณ 500 - 600 กรัมต่อเดือน จนเมื่ออายุประมาณ 6 เดือน ลูกอาจมีน้ำหนักเป็น 2 เท่าของน้ำหนักตอนแรกเกิด ทั้งนี้หลังจากอายุ 6 เดือนเป็นต้นไป ลูกสามารถกินอาหารเสริมได้แล้ว คุณพ่อคุณแม่จึงสามารถจัดเตรียมอาหารให้ถูกต้องตามหลักโภชนาการให้แก่ลูกน้อยได้ตามต้องการ
อายุ 7 - 9 เดือน
สำหรับลูกน้อยวัย 7 - 9 เดือน จะมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นประมาณ 400 กรัมต่อเดือน อาจมากหรือน้อยกว่านี้นิดหน่อยค่ะ
แรกเกิด - 3 เดือน
ทารกหลังจากแรกคลอดจะมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น 700 - 800 กรัมต่อเดือน ดังนั้นเมื่อครบ 3 เดือน น้ำหนักตัวของลูกควรเพิ่มขึ้นประมาณ 2 - 2.5 กิโลกรัม ทั้งนี้การเปลี่ยนแปลงของน้ำหนักก็ขึ้นอยู่กับปัจจัยอย่างอื่นร่วมด้วย
อายุ 9 เดือน - 1 ขวบ
น้ำหนักตัวในเด็กวัย 9 เดือน - 1 ขวบ จะเพิ่มขึ้นประมาณ 300 กรัมต่อเดือน ที่ลดลงนั้นเนื่องจากเด็กมีการเผาผลาญมากกว่าเดิม ฟันเริ่มขึ้น อาจเกิดอาการปวดฟัน ทำให้บางคนดื่มนมหรือกินอาหารได้น้อยลงค่ะ
-
การนอนหลับ
-
-
-
-
-
-
พัฒนาการ
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
การขับถ่าย
-
-
ทารกแรกเกิด :red_flag:
ลูกจะปัสสาวะเกือบทุกๆ 20 นาที แต่ละครั้งปริมาณจะค่อนข้างน้อยมากค่ะ เนื่องจากกระเพาะปัสสาวะของลูกยังเล็ก
-
-
-
-
-
-
พัฒนาการทางด้านอารมณ์
-
:check:อารมณ์ไม่พอใจ
จะเกิดขึ้นเมื่อทารกถูกจับไม่ให้เคลื่อนไหว ถูกเปลี่ยนท่าอย่างรวดเร็วไม่ได้รับการอุ้มชู ได้ยินเสียงดังทันที หรือเมื่อมีความเจ็บปวเ เป็นต้น
-
น้ำหนัก
-
-
-
น้ำหนักลูกวัย 1 ปีขึ้นไป
น้ำหนักลูกจะเพิ่มขึ้นเฉลี่ยเดือนละประมาณ 200 กรัม ซึ่งมีปัจจัยหลายอย่างที่จะทำให้ลูกมีน้ำหนักตัวเพิ่มมากหรือน้อยในแต่ละเดือนด้วย
-