Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ลักษณะของวงดนตรีพื้นบ้านในภาคต่างๆของประเทศไทย, ณัฏฐา23 ม.5/1 - Coggle…
ลักษณะของวงดนตรีพื้นบ้านในภาคต่างๆของประเทศไทย
ภาคอีสาน
เครื่องดนตรีและวงดนตร
-ชื่อวงดนตรีจะแตกต่างกันไปตามความนิยมของท้องถิ่น
-วงดนตรีพื้นบ้านมีอยู่หลายวงเช่น วงกันตรึม วงแคณพิณโหวด วงโปงลาง วงตุ้มโมง เป็นต้น
-การผสมวงดนตรีพื้นบ้านจะมีลักษณะแตกต่างกันออกไปตามพื้นที่
เครื่องดนตรีมีอยู่หลายชนิดเช่น แคน โหวด กลองหาง กลองกันตรึม หมากกั๊บแก้บ โปงลางไนซอง เป็นต้น
สำเนียงภาษา และเนื้อร้อง
-เพลงร้องจะบอกเล่าคุณค่าทางวัฒนธรรม วิถีชีวิต และความคิดต่างๆ
-ภาษาและสำเนียงท้องถิ่นถูกนํามาผสมผสานกันอย่างสอดคล้องกับเนื้อร้อง
องค์ประกอบของดนตรีและบทเพลง
-บทเพลงมีความผูกพันกับความเชื่อ พิธีกรรม การประกอบอาชีพ อารมณ์ และความรู้สึก
-มีลักษณะเรียบง่าย มีจังหวะและทํานองที่สนุกสนาน เร้าใจ มีการประสานเสียงระหว่างผู้ขับร้องและการบรรเลงดนตรี
-บทเพลงที่รู้จักกันทั่วไป เช่น เพลงโคราช เพลงรําโทน เพลงเซิ่งบั้งไฟ เป็นต้น
-มีทั้งที่เป็นการแสดงฟ้อนเซิ้ง เต้นรํา และที่ใช้ขับลํา มีทั้งที่เป็นดนตรี บทเพลง การแสดงดั้งเดิม และที่สร้างสรรค์ขึ้นใหม่ เช่น หมอลํา เจรียง เป็นต้น
ภาคกลาง
สำเนียงภาษา และเนื้อร้อง
-มีสำเนียงถิ่นที่บ่งบอกถึงวัฒนธรรมในด้านภาษา เช่นสำเนียงเหน่อ เป็นต้น
-เพลงพื้นบ้านนิยมใช้เนื้อร้องที่ผูกด้วยกลอนสดประเภทกลอนหัวเดียว คือ กลอนไล และกลอนลา
-บทเพลงมีความหลากหลายขึ้นอยู่กับโอกาสที่ใช้ เช่นการเกี้ยวพาราสี การโต้ตอบชิงไหวพริบ เป็นต้น
องค์ประกอบของดนตรีและบทเพลง
-บทเพลงที่รู้จักกันทั่วไป เช่น เพลงเรื่อ เพลงเกี่ยวข้าว เพลงฉ่อย เพลงพานฟาง เพลงรำโทน เพลงอีแซว เป็นต้น
-จะประกอบไปด้วยเครื่องดนตรี วงดนตรี ทำนองเพลงที่ปรากฏ ลีลา ทำนอง และจังหวะ มีความสัมพันธ์กับดนตรีแบบแผน การใช้คำมีสัมผัสคล้องกันจังหวะและทำนองมีความสนุกสนาน มีการประสานเสียงระหว่างดนตรีกับการขับร้องที่กลมกลืน
เครื่องดนตรีและวงดนตร
-มีการผสมผสานวัฒนธรรมทางดนตรีราษฎร์และหลวง
-เครื่องดนตรีพื้นบ้านจะประกอบไปด้วยเครื่องดนตรีที่อยู่ในวงดนตรีไทยแบบแผนและเครื่องดนตรีที่บรรเลงอยู่ในวงดนตรีพื้นบ้าน
-มีการสมวงบรรเลงในงานและกิจกรรมต่างๆ ทั้งงานมงคลและงานอวมงคล
-วงดนตรีพื้นบ้านมีอยู่หลายวง เช่น วงกลองยาว วงปี่พาทย์ วงมโหรี วงเครื่องสาย เป็นต้น
-เครื่องดนตรีมีอยู่หลายชนิด เช่น ปี่ ขลุ่ย ระนาด ตะโพน กลองทัด กลองยาว อังกะลุง เป็นต้น
ภาคใต้
สำเนียงภาษา และเนื้อร้อง
-มีจังหวะและทํานองที่คึกคักและหนักแน่น เน้นความสนุกสนานครื้นเครง
ภาษาที่ใช้เป็นภาษาถิ่น ภาษายาวี และภาษามาลายู
-สำเนียงที่ใช้ในบทร้องจะมีสำเนียงทางใต้ ที่มีลักษณะห้าวและห้วน
-เนื้อร้องมีความหลากหลาย คำไม่ยืดเยื้อ มีการโต้ตอบ ซักถามเรื่องราวต่างๆ การเกี้ยวพาราสี การบอกข่าวสาร เป็นต้น
องค์ประกอบของดนตรีและบทเพลง
-บทเพลงที่ใช้ในวัฒนธรรมแต่ละกลุ่มจะมีรูปแบบ แนวเพลงและจังหวะแตกต่างกันไปตามประเภท และกิจกรรมที่ถูกจัดขึ้น
-บทเพลงที่รู้จักกันทั่วไป เช่น เพลงรองเง็ง เพลงนา เพลงบอก เพลงคาตัก เป็นต้น
-มีการขับร้องและบรรเลงดนตรีมีกี่ปะสนเสียงกันได้อย่างสอดคล้องเหมาะสม
เครื่องดนตรีและวงดนตร
-เครื่องดนตรีมีหลายชนิด เช่น กลองพรก แกระ บานอ ปี่กาหลอ โพน รือบับ กลองชาตรี กรือโต๊ะ เป็นต้น
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ วงดนภาคใต้
-มีพื้นที่ทอดยาวจากจังหวัดชุมพรไปยัง ๕ จังหวัดชายแดนด้านประเทศมาเลเซีย ดนตรีและเพลงที่ปรากฏอยู่ในวิถีชีวิตของชาวภาคใต้ นิยมบรรเลงในกิจกรรมต่างๆ ทั้งดนตรีในงานมงคล ดนตรีในงารนอวมงคลดนตรีที่นำมาประกวดประชันกัน และดนตรีประกอบการแสดง
-วงดนตรีพื้นบ้านมีอยู่หลายวง เช่น วงกาหลอ วงรอเฮ็ง วงโต๊ะครึม วงโนรา วงหนังตะลุง วงสีละ เป็นต้น
-วัฒนธรรมดนตรีภาคใต้ มี ๓ วัฒนธรรมหลัก คือ วัฒนธรรมไทยพุทธ วัฒนธรรมไทยมุสลิม และวัฒนธรรมไทยเชื้อสายจีน
ภาคเหนือ
องค์ประกอบของดนตรีและบทเพลง
-บทเพลงที่รู้จักกันทั่วไป เช่นเพลงล่องน่าน เพลงสาวไหม เพลงแม่หม๊ายค้อม เพลงตีนตุ้ม เพลงซอพม่า เป็นต้น
-จะประกอบไปด้วยเครื่องดนตรี วงดนตรี ทํานองเพลงที่ปรากฏลีลาไพเราะ มีการประสานเสียงระหว่างดนตรีและผู้ขับร้อง มีสีสันและมีความแตกต่างกันไปตามแต่ละกลุ่มวัฒนธรรมดนตรี
เครื่องดนตรีและวงดนตรี
-ผสมผสานวัฒนธรรมชนเผ่า แวะวัฒนธรรมในคุ้มและวัง จนกลายเป็นดนตรีพื้นบ้านที่มีเอกลักษณ์เฉพาะถิ่น
-วงดนตรีพื้นบ้านมีอยู่หลายวงเช่น วงสะลือ ซอซึ้ง วงสะลือ ซึงขลุ่ย วงกลองสะบัดชัย เป็นต้น
-สำเนียงและทํานองเพลงมีความพลิ้วไหว อ่อนหวาน นุ่มนวล
-เครื่องดนตรีมีอยู่หลายชนิด เช่น พิณ สะลือ ซึง กลองปูเจ่ กลองสะบัดชัย ตะโล้ดโป๊ด เป็นต้น
-มีการนําเครื่องดนตรีประเภทดีด สี ตี และเป่า มาผสมวงกัน
สำเนียง ภาษา และเนื้อร้อง
ประกอบการฟ้อนเล็บ มีจังหวะและทํานองที่นุ่มนวล การบรรเลงวงกลองสะบัด ชัยให้ความรู้สึกตื่นเต้น เร้าใจ เป็นต้น
-มีการบรรเลงดนตรีที่มีจังหวะตื่นเต้น คึกคัก เช่น การบรรเลง วงกลองแอว
-มีสำเนียงที่ไพเราะ อ่อนหวาน นุ่มนวล โปร่งสบาย และเนิบช้า
ณัฏฐา23 ม.5/1