Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารวัคซีนสำหรับผู้บาดเจ็บ, นางสาวกุลวดี ชอบชื่น เลขที่7 4B …
การบริหารวัคซีนสำหรับผู้บาดเจ็บ
ประเภทของภูมิคุ้มกันโรค
Active immunity
Active Naturally immunity : เกิดภูมิคุ้มกันหลังการติดเชื้อตามธรรมชาติ
Active Artificially immunity : เกิดภูมิคุ้มกันหลังการให้วัคซีน
Passive immunity
Passive Naturally Immunity : เกิดภูมิคุ้มกันโดยตรง จากแม่สู่ลูก
Passive Artificially Immunity : เกิดภูมิคุ้มกันจากการได้รับแอนติบอดี้
วัคซีน คือแอนติเนที่ผลิตมาจากเชื้อโรคที่ทำให้ไม่สามารถก่อโรคแต่จะไปกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกัน
Rabies Vaccine
การฉีดหลังสัมผัสสัตว์
ข้อพิจารณา
Category II
: ต้องฉีดวัคซีน ในกรณี ถูกงับเป็นรอยช้ำแม้ไม่มีเลือดออก ถูกเลียบริเวณที่มีแผล ถูกข่วน เลือดออก
Category III
: ต้องฉีดวัคซีน+RIG กรณีบาดแผลลึก บาดแผลบริเวณ ศีรษะ ใบหน้า คอ ปลายนิ้วมือหรือมีหลายบาดแผล ผู้ที่ถูกกัดในพื้นที่ที่พบผู้ป่วยติดเชื้อ
Category I
: ไม่ต้องฉีดวัคซีน กรณีสัมผัสกับสัตว์โดยที่ผิวหนังไม่มีแผล เช่น การให้อาหาร ถูกเลีย ยกเว้นเข้าทางตาหรือปาก
แนวทางการได้รับวัคซีน
ไม่เคยฉีดมาก่อน / ฉีดน้อยกว่า 3 เข็ม
IM
: ฉีด 5 ครั้ง ครั้งละ 1 ml. วันที่ 0,3,7,14 และ 28
ID
: ฉีด 4 ครั้ง ในวันที่ 0,3,7 และ 28 แต่ละครั้งฉีด 2 จุด จุดละ 0.1 ml.
เคยได้รับวัคซีนมาก่อน
ถูกกัดซ้ำใน 6 เดือน ฉีด IM หรือ ID .ในวันที่ 0
ถูกกัดซ้ำนานกว่า 6 เดือน ให้ฉีดตามสูตรนี้
IM : 1 เข็ม วันที่ 0 และ 3
ID : 4 จุด วันที่ 0
ID : 1 จุด วันที่ 0 และ 3
ชนิดของวัคซีน
PVRV 0.5 ml
PCECV-Rabipur 1 ml.
CPRV-Speeda 0.5 ml.
ฉีดป้องกันก่อนสัมผัสโรค
ID :
PVRV,CPRV,PCECV 1 จุด วันที่ 0,7,21 หรือ 28
PVRV 2 จุด ในวันที่ 0 และ 28
IM :
1 เข็ม วันที่ 0,7,21 หรือ 28 ทั้งหมด 3 เข็ม
RIG
HRIG 20 IU/kg/dose
ERIG 40 IU/kg/dose
ทดสอบผิวหนัง
1.เจือจาง ERIG 1:100 ด้วย NSS
2.ฉีด 0.02 ml. ท้องแขน รอยนูน 3 mm.
3.ฉีด NSS ท้องแขนอีกข้าง
4.รอ 15-20 นาที
จุด ERIG รอยนูนมากกว่า 3 mm. อีกข้างไม่มีแสดงว่า + หรือนูนแดงทั้ง 2 ข้าง
ข้อแนะนำ
กรณี + ให้เปลี่ยนเป็น HRIG
หลังฉีดให้ดูอาการ 1 ชั่วโมง
เตรียม Adrenaline
ก่อนฉีดทำความสะอาดแผลให้มากที่สุด
ฉีด RIG รอบแผล แทงเข้าใต้แผล ที่เหลือให้ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ ไกลจากจุดที่ฉีด
แบ่งประเภทวัคซีนตามการผลิต
วัคซีนเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์
ใช้เชื้อโรคมาทำให้อ่อ่นฤทธิ์ลงจนไม่ทำให้เกิดโรค
เข้าไปในร่างกายจะไม่เกิดปฏิกิริยาทันที
วัคซีนประเภทท็อกซอยด์
นำพิษของแบคทีเรียมาทำให้หมดฤทธิ์แต่ยังกระตุ้นภูมิคุ้มกันได้
จะมีไข้หรือปฏิกิริยาเฉพาะที่เล็กน้อย(ปวด)
วัคซีนเชื้อตาย
ใช้เชื้อโรคทั้งตัวที่ตายแล้ว
มักเกิดปฏิกิริยาบริเวณที่ฉีดหลังฉีดประมาณ 3-4 ชั่วโมง
บาดทะยัก
แผลที่เสี่ยงต่อการเกิดบาดทะยัก
มีการติดเชื้อเป็นหนอง
มีสิ่งแปลกปลอมตกค้าง
บาดแผลที่มีเนื้อตายจำนานมาก
Tetanus vaccine
ผู้ป่วยที่ไม่เคยฉีดวัคซีนมาก่อน
ให้ฉีด 3 เข็ม เข็มแรกฉีดได้เลย เข็มที่2ห่างจากเข็มแรก1-2 เดือน ส่วนเข็มที่3ห่างจากเข็มที่2 6-12 เดือน ให้ 0.5ml. IMฉีดกระตุ้นทุก10ปี
ไม่แนะนาให้ฉีด toxoid ถ้าบุคคลผู้นั้นได้ toxoid ครบ 3ครั้งล่าสุดไม่เกิน 5ปี
แผลสะอาด
เกิดในช่วง 5ปี หลังได้วัคซีน : ไม่ต้องฉีด
เกิดในช่วงเกิน 5ปีแต่ ไม่เกิน 10ปีหลังได้วัคซีน : ไม่ต้องฉีด
เกิดในช่วงเกิน10ปีหลัง ได้วัคซีน ครั้งสุดท้าย : ให้ฉีดวัคซีน
ไม่เคยได้รับวัคซีน : ให้ฉีดวัคซีน
แผลสกปรก
เกิดในช่วงเกิน 5ปีแต่ ไม่เกิน 10ปีหลังได้วัคซีน :ให้ฉีดวัคซีน
เกิดในช่วงเกิน10ปีหลัง ได้วัคซีน ครั้งสุดท้าย : ให้ฉีดวัคซีน +/-TIg
เกิดในช่วง 5ปี หลังได้วัคซีน : ไม่ต้องฉีด
ไม่เคยได้รับวัคซีน : ให้ฉีดวัคซีนร่วมกับTIg
Human Tetanus immunoglobulin (TIg)
TIg เป็น specific immune globulin ที่มี tetanus antitoxin เตรียมจากเลือดคนที่จะทำให้เกิดภูมิคุ้มกันต่อโรคบาดทะยัก แบบ passive immunization มีข้อดีคือ half life ยาว (28วัน) และเกิดhypersensitivity น้อยกว่า equine tetanus antitoxin (TAT)
การบริหารยา
IM injection
Dose
Adult and Children
≥7 years: 250 units ครั้งแรก
ให้500 units หากบาดแผลรุนแรงหรือการรักษาล่าช้า ปริมาณอาจเพิ่มขึ้นเป็น
Children
<7 years :4 units/Kg
ข้อเสีย
ปวดบริเวณที่ฉีดและมีไข้ต่ำๆ บวมน้ำ กดไม่บุ๋ม
ข้อควรระวัง
เตรียม adrenaline ไว้ให้พร้อมที่จะใช้ได้ทันที
ต้องฉีดคนละข้างกับ tetanus toxoid
ไม่ผสมปนในกระบอกฉีดเดียวกัน
วัคซีนโควิด
Protein-based vaccine : โปรตีนของไวรัส
Inactivated vaccine : วัคซีนเชื้อตาย ซิโนแวค
Viral vector vaccine : วัคซีนเชื้อเป็น
mRNA vaccine : กระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัส
นางสาวกุลวดี ชอบชื่น เลขที่7 4B
นางสาวเกวลิน จันทร์ศรีนาค เลขที่8 4B