Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
จิตวิทยาการเรียนรู้ Learning Theory - Coggle Diagram
จิตวิทยาการเรียนรู้ Learning Theory
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม (Cognitive Learning Theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มเกสตัลท์ (Gestalt’s Learning Theory)
นักทฤษฎี
(Wolfgang Kohler)
(Kurt Koffka)
(Max Wertheimer)
(Kurt Lewin)
เกสตัลท์ (Gestalt)
เป็นภาษาเยอรมันซึ่งวงการจิตวิทยาได้แปลความหมายไว้เดิม
แปลว่า แบบหรือรูปร่าง
กลุ่มนี้มีแนวคิดว่า
การเรียนรู้เกิดได้จากการจัดสิ่งเร้าต่างๆ มารวมกันเริ่มต้นด้วยการ รับรู้
โดยส่วนรวมก่อนแล้วจึงจะสามารถวิเคราะห์เรื่องการเรียนรู้ส่วนย่อยทีละส่วนต่อไป
การเรียนรู้เกิดขึ้นได้ 2 ลักษณะ
1. การรับรู้ (perception)
คือการใช้ประสาทสัมผัสกับสิ่งเร้าแล้วถ่ายโยงสู่กระบวนการคิดตีความด้วยประสบการณ์เดิมแล้วจึงแสดงปฏิกิริยาตอบสนอง
2. การหยั่งเห็น (insight)
เป็นการค้นพบหรือเห็นแนวทางแก้ปัญหาแบบฉับพลันทันทีเกิดจากการพิจารณาปัญหาโดยรวม
กฎการจัดระเบียบการเรียนรู้ของเกสตัลท์
3. กฎแห่งความใกล้เคียง (Law of proximity)
4. กฎแห่งความสมบูรณ์ (Law of closure)
2. กฎแห่งความคล้ายคลึง (Law of similarity)
5. กฎแห่งความต่อเนื่อง (Law of continuity)
1. กฎแห่งความแน่นอน (Law of pragnanz)
จุดเด่น (figure)
พื้นหลัง (ground)
6. กฎแห่งความคงที่ (Law of stability)
Jean Piaget
ทฤษฎีพัฒนาการเชาวน์ปัญญา (Cognitive Development)
ซึ่งเพียเจต์ให้นิยามว่า โครงสร้างทางสติปัญญา (Schema) เป็นวิธีการที่มนุษย์รับรู้ เข้าใจ และคิดถึงเกี่ยวกับโลกที่เขาอยู่ (They are ways of perceiving , understanding and thinking about the world.)
แบ่งขั้นตอนพัฒนาการของชีวิตเป็น 4 ขั้น ดังนี้
ขั้นที่ 2 Preoperational period (อายุ 2- 7 ปี )
ขั้นที่ 3 Concrete period (อายุ 7 - 11 ปี )
ขั้นที่ 1 Sensorimotor period (แรกเกิด - 2 ขวบ)
ขั้นที่ 4 Formal Operations period (อายุ 12 ปี ขึ้นไป)
กระบวนการทางสติปัญญามี 2 รูปแบบ
การซึมซับหรือดูดซับ (Assimilation)
คือการที่บุคคลได้รับประสบการณ์หรือได้รับรู้สิ่งใหม่เข้ามาในสมอง
การปรับและจัดระบบ (Accommodation)
คือการตีความ แปลความ และปรับโครงสร้างทางปัญญาใหม่ให้เกิดความสมดุล
การประยุกต์ใช้ทฤษฎีการเรียนรู้
คอยสังเกตอย่างใส่ใจและให้ความช่วยเหลือเมื่อเด็กต้องการ
ให้เด็กได้เริ่มเรียนรู้จากสิ่งที่คุ้นเคยก่อนน้าเสนอสิ่งใหม่ที่สัมพันธ์กับสิ่งเดิม
จัดสภาพแวดล้อมและกิจกรรมให้เหมาะกับการเรียนรู้ของแต่ละช่วงวัย
ให้เด็กได้รับรู้ภาพรวมก่อนแล้วค่อยแยกสอนทีละส่วน
(Albert Bandura)
ทฤษฎีการเรียนรู้สังคม (Social Learning Theory)
กระบวนการเรียนรู้
ความใส่ใจ (Attention)
การจดจำ (Retention)
การแสดงพฤติกรรมเหมือนตัวอย่าง (Reprodution)
แรงจูงใจ (Motivation)
ความใส่ใจในสิ่งเร้า (Selective Attention)
การเข้ารหัส (Coding)
การจดจำ (Retention)
ปัจจัยท่ส่งผลต่อการเรียนรู้ของสังคม
PERSONAL FACTORS
บุคคล (ตัวแปรที่เกิดจากผู้เรียน)
ความคาดหวัง
ENVIRONMENTAL
สิ่งแวดล้อม
BEHAVIOR
พฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งของบุคคล
ทฤษฎีการเรียนกลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behavioral Learning Theory)
Ivan Pavlov
ทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก Classical Conditioning Theory
พฤติกรรมมีการเปลี่ยนแปลงได้จากการวางเงื่อนไข (conditioning) สิ่งเร้า (stimulus)
การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมโดยวางเงื่อนไข
UCR (Unconditioning Response)
การตอบสนองแบบที่ไม่ได้วางเงื่อนไข
CS (Conditioning Stimulus)
สิ่งเร้าที่ต้องวางเงื่อนไข
UCS (Unconditioning Stimulus)
สิ่งเร้าที่ไม่ได้วางเงื่อนไข
CR (Conditioning Response)
การตอบสนองที่ต้องวางเงื่อนไข
กฎการเรียนรู้จากสิ่งที่เกิดขึ้นในการทดลอง พาฟลอฟได้สรุปเป็นกฎ 4 ข้อคือ
2. กฎแห่งการคืนกลับ (Law of Spontaneous recovery)
การตอบสนองที่เกิดจากการวางเงื่อนไข (CR) ที่ลดลงเพราะได้รับแต่สิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข (CS)
จู่ๆน้้าลายของสุนัขก็กลับมาไหลเหมือนเดิม เพียงแค่ได้ยินเสียงกระดิ่ง
3. กฎความคล้ายคลึงกัน (Law of Similarity)
ถ้ามีสิ่งเร้าอื่นที่มีคุณสมบัติคล้ายคลึงกันกับสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขเดิม ร่างกายจะตอบสนอง
เหมือนกับสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขนั้น
น้้าลายสุนัขไหลเมื่อได้ยินเสียงอื่นที่คล้ายกระดิ่ง เช่น ระฆัง ส้อมเสียง
1. กฎการลบพฤติกรรม (Law of Extinction)
มีความว่าความเข้มข้นของการตอบสนองจะลดน้อยลงเรื่อยๆ
น้้าลายของสุนัขเริ่มลดลงเมื่อได้ยินแต่เสียงกระดิ่งอย่างเดียวไปเรื่อยๆ
4. กฎการจำแนก (Law of discrimination)
ถ้าร่างกายมีการเรียนรู้โดยแสดงอาการตอบสนองจากการวางเงื่อนไขต่อสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขเดิม ร่างกายจะตอบสนองแตกต่างไปจากสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขนั้น
น้้าลายของสุนัขไม่ไหล เพราะจ้าแนกได้ว่าเสียงที่ได้ยินไม่ใช่เสียงกระดิ่ง
John Watson
ทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก Classical Conditioning Theory
ทฤษฎีนี้ใช้กับคนก็ได้ผลนะแต่ต้องระมัดระวังว่าจะใช้ไปในทางบวกหรือลบ
LOUD NOISE (UCS)
FEAR RESPONSE (UCR)
RAT (NS)+LOUD NOISE (UCS)
FEAR RESPONSE (UCR)
RAT (NS)
NO RESPONSE
RAT (CS)
FEAR RESPONSE (CR)
B.F.Skinner
ทฤษฎีการเรียนรู้การเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบการกระทำ
Operant Conditioning Theory
การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมขึ้นอยู่กับการเสริมแรงหรือลงโทษ
การเสริมแรงในรูปแบบต่างๆ
เสริมแรงทางบวก (เพิ่มสิ่งที่ชอบเข้าไปให้,เพิ่มการเกิดพฤติกรรม)
การลงโทษทางบวก (เพิ่มสิ่งสิ่งที่ไม่ชอบเข้าไปให้,ลดการเกิดพฤติกรรม)
เสริมแรงทางลบ (เอาสิ่งที่ไม่ชอบออกมา,เพิ่มการเกิดพฤติกรรม)
การลงโทษทางลบ (เอาสิ่งที่ชอบออกมา,ลดการเกิดพฤติกรรม)
ช่วงแรกของควรเสริมแรงทุกครั้ง แต่หลังจากนั้นต้องค่อยๆ ปรับความถี่หรือเวลาให้มีช่วงห่างที่เหมาะสมมากขึ้น
การเสริมแรง
การเสริมแรงทุกครั้ง
การเสริมแรงบางครั้ง
การเสริมแรงตามช่วงเวลา
ช่วงเวลาที่ไม่แน่นอน
ช่วงเวลาที่แน่นอน
การเสริมแรงตามจำนวนครั้งที่ทำถูก
จำนวนครั้งที่แน่นอน
จำนวนครั้งที่ไม่แน่นอน
Edward Thorndike
ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง
บางทีเราก็เรียนรู้กันแบบลองผิดลองถูก (Trial & Error) นะ
2. กฎแห่งการฝึก ( Law of Exercise )
ความสัมพันธ์นี้จะแน่นแฟ้นยิ่งขึ้นเมื่อมีการฝึกหัดหรือซ้้าบ่อย ๆ และความสัมพันธ์นี้จะ
คลายอ่อนลงเมื่อไม่ได้ใช้
3. กฎแห่งความพร้อม ( Law of Readiness )
เพื่อเสริมกฎแห่งผล และได้อธิบายไว้ในรูปของการเตรียมตัว และการเตรียมพร้อมในการที่จะตอบสนองกิจกรรมที่ตามมาหลังจากการที่มีการเตรียมตัวพร้อมแล้ว
1. กฎแห่งผล ( Law of Effect )
ถ้าจะให้ผู้เรียนรู้อะไรจะต้องมีรางวัลให้
4. กฎแห่งความพร้อม ( Law of Readiness )
ถ้าหน่วยของการกระท้าพร้อมที่จะแสดงออกแต่ไม่ได้แสดง จะท้าให้เกิดความไม่สบายใจ
ถ้าหน่วยของการกระท้ายังไม่พร้อมที่จะแสดงออกแต่จ้าเป็นต้องแสดงออก การแสดงออกนั้นๆจะกระท้าไปด้วยความไม่สบายใจหรือไม่พอใจเช่นกัน
1 .เมื่อหน่วยของการกระท้าพร้อมที่จะแสดงออกมา ถ้าผู้กระท้าท้าด้วยความสบายหรือพอใจ ไม่มีอะไรจะเปลี่ยนแปลงการกระท้านี้ได้
ทฤษฎีประมวลผลสารสนเทศ (Information Processing Theory)
คลอสเมียร์ (Klausmeire, 1985)
เปรียบเทียบการท้างานของสมองกับคอมพิวเตอร์
2. การเข้ารหัส (Encoding)
โดยอาศัยชุดค้าสั่งหรือซอฟต์แวร์ (Software)
3. การส่งข้อมูลออก (Output)
โดยผ่านทางอุปกรณ์
1. การรับข้อมูล (Input)
โดยผ่านทางอุปกรณ์หรือเครื่องรับข้อมูล
กระบวนการประมวลผล
คลอสเมียร์ (Klausmeire, 1985)
สัญญาณจากภายนอก
การมองเห็น การได้ยิน การรับรส ฯลฯ
หน่วยรับข้อมูลจากประสาทสัมผัส (สูญเสียอย่างถาวร แต่ถ้าหากรู้สึกประทับใจอาจถูกจัดเก็บในหน่วยความจำระยะยาว)
หน่วยความจำระยะสั้นสำหรับประมวลผล (สูญเสียอย่างถาวร ในหน่วยนี้จะถูกทบทวน และจะมีการจัดเก็บ,ดึงข้อมูล จากหน่วยความจำระยะยาว)
หน่วยความจำระยะยาว (อาจสูญเสียความทรงจำแต่อาจเรียกคืนได้)