Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Temporomandibular disordors ; TMDs - Coggle Diagram
Temporomandibular disordors ; TMDs
ความหมาย TMDs
เป็นกลุ่มอาการความผิดปกติของข้อขากรรไกรและกล้ามเนื้อบดเคี้ยว ทำให้มีอาการปวดบริเวณใบหน้า ศีรษะ บมับ กกหู หน้าหู ในหู ขากรรไกรและฟัน อาการอ้าปากไม่ขึ้น มีเสียงดังกึกกักหรือครืดคราดบริเวณหน้าหู อ้าปากแล้วเบ้หรือขากรรไกรค้าง
สาเหตุ
การสบฟันที่ไม่ปกติ
ความเครียด
การนอนกัดฟัน
การเคี้ยวของแข็งหรือของเหนียวมากเกินไป
กัดเน้นฟันหรือขบฟันไว้ตลอดเวลา
แรงกระแทกเข้าสู่ข้อต่อขากรรไกรจากอุบัติเหตุ
ชอบกัดไถฟันไปมา
อาการ และอาการแสดง
ความเจ็บปวด และการกดเจ็บ
อาการปวดที่เกิดจากกล้ามเนื้อ
อาการปวดกล้ามเนื้อมักมีลักษณะแผ่กระจาย ต่อเนื่องปวดตื้อๆตึงหรือเหมือนถูกบีบ
ระดับความรุนแรงมีได้ตั้งแต่รู้สึกเมื่อยหรือตึงจนกระทั่งเป็นอาการปวดอย่างรุนแรง
ผู้ป่วยมักจะบอกตำแหน่งที่ปวดได้ไม่แน่นอน
ตำแหน่งที่รู้สึกปวดอาจไม่ใช่ตำแหน่งเดียวกับส่วนที่ผิดปกติ ซึ่งก่อให้เกิดอาการอาการปวด
อาการปวดที่เกิดเกิดขึ้นจากข้อต่อขากรรไกร
อาการปวดข้อต่อในข้อที่ยังมีโครงสร้างปกติมักมีลักษณะ ปวดจี๊ดๆ กะทันหันและรุนแรง ที่มักจะเกิดร่มกับการเคลื่อนที่ขากรรไกร
เมื่อขากรรไดรได้พักอาการปวดจะหายไปได้อย่างรวดเร็ว
ถ้ามีอาการทำลายโครงสร้างของข้อต่อก็อาจเกิดอาการอักเสบขึ้น และทำให้เกิดอาการปวดที่ต่อเนื่องโดยจะปวดมากขึ้นเื่อมีการเคลื่อนที่ขากรรไกร
การทำหน้าที่ผิดปกติ
การเบี่ยงเบงของแนวทางการเคลื่อนที่ของขากรรไกร
การเคลื่อนที่ของขากรรไกรได้จำกัดหรือน้อยลง
สาเหตุ
ความผิดปกติ TMJ
ความผิดปกติของกระดูก
ความผิดปกติของกล้ามเนื้อ
การมีเสียงเกิดขึ้นที่ข้อต่อกรรไกร
มีลักษณะเป็นเสียงเดี่ยวสั้น เกิดได้ขณะขากรรไกรมีการเคลื่อนที่ไม่ว่าจะเป็นขณะ อ้าปาก หุบปาก เยื้องคางหรือยื่นคาง
เป็นเสียงที่มีลักษณะรัว ดังกรอบแกรบหรือเสียงครูด
วิธีการตรวจผู้ป่วย TMDs
การตรวจระบบบดเคี้ยวทางคลินิก
การตรวจข้อขากรรไกร
การตรวจโดยการคลำและกด
การตรวจเสียงที่ข้อต่อขากรรไกร
การดูข้อต่อขากรรไกร
การตรวจกล้ามเนื้อ
การให้ความรู้และวิธีปฏิบัติในการดูแลรักษาตนเองแก่ผู้ป่วย
การรักษาเชิงพฤติกรรมและการเรียนรู้
การใช้ยา
กายภาพบำบัด
การใช้เครื่องมือออร์โธพิดิก
การรักษาด้านบดเคี้ยว
การผ่าตัด
การตรวจการเคลื่อนที่ขากรรไกร
การวัดระยะการเคลื่อนที่ขากรรไกรไปด้านหน้า
การวัดระยะการเคลื่อนที่ของขากรรไกรออกด้านข้าง
การเคลื่อนขากรรไกรในแนวดิ่ง
การตรวจแนวการเคลื่อนที่ของขากรรไกรล่าง
หลักทั่วไปในการตรวจ
ผู้ตรวจต้องอธิบายให้ผู้ป่วยทราบทุกครั้งก่อนว่ากำลังจะทำอะไรต่อไป
ให้ผู้ป่วยวางขากรรไกรล่างในตำแหน่งที่สบายก่อนเสมอ
ผู้ตรวจต้องบันทึกซี่ฟันหรือตำแหน่งที่ใช้เป็นจุดอ้างอิงเดียวกันเสมอในผู้ป่วยรายเดียวกัน
ให้ผู้ป่วยเคลื่อนขากรรไกรซํ้าในแนเดียวกันสัก 3 ครั้งเสมอ
History talking
review of system
การซักประวัติที่สมบูรณ์จะต้องรวมเอาสถานะทางปัจจุบันเกี่ยวกับสุขภาพร่างกายโดยทั่วไปของผู้ป่วย
mrdical history
ความเจ็บปวดอาจเป็นอาการแสดงที่เกี่ยวข้องกับความผิดปกติหรือการเจ็บป่วยทางร่างกาย ควรถามประวัติความเจ็บป่วยทางร่างกาย ควรถามทั้งอดีตและปัจจุบันให้ละเอียด
cheif complaint
characteristics of the pain
quality of the pain
การจำแนกความเจ็บปวดตามผลของความเจ็บปวดต่อความรู้สึกของผู้ป่วย
aqqravating and alleviating factors
ปัจจัยต่างๆที่ทำให้อาการปวดมากขึ้นหรือทำให้อาการปวดลดน้อยลง
onset of the pain
ซักถามอาการปวดเกิดขึ้นได้อย่างไร
past consultations and treatments
ซักถามประวัติให้ละเอียด
location of the pain
ให้ผู้ป่วยระบุตำแหน่งที่มีอาการปวด
relationship to other pain complaints
ผู้ป่วยอาจจะมีpain complaints มากกว่า 1อย่าง
psycholoqical assessment
การประเมินสภาพจิตใจของผู้ป่วย