Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Temporomandibular disorders - Coggle Diagram
Temporomandibular
disorders
อธิบายความหมาย TMDs
เป็นกลุ่มอาการความผิดปกติของข้อต่อขากรรไกรและกล้ามเนื้อบดเคี้ยว ทำให้มีอาการปวดบริเวณใบหน้า ศีรษะ ขมับ กกหู หน้าหูในหู ขากรรไกรและฟัน นอกจากนี้ อาจมีอาการอ้าปากไม่ขึ้น มีเสียงดังกึกกัก หรือครืดคราดบริเวณหน้าหู อ้าปากแล้วเบ้หรือขากรรไกรค้าง
บอกสาเหตุ อาการและอาการแสดงของ TMDs
สาเหตุ
ชอบกัดไถฟันไปมา
กัดเน้นฟันหรือขบฟันไว้ตลอดเวลา
การนอนกัดฟัน
การสบฟันที่ไม่ปกติ
ความเครียด
การเคี้ยวของแข็งหรือของเหนียวมากเกินไป
แรงกระแทกเข้าสู่ข้อต่อขากรรไกรจากอุบัติเหตุ
Symptoms and Signs
ความเจ็บปวด (pain) และการกดเจ็บ (tenderness)
• เป็นอาการที่พบมากที่สุดในผู้ป่วย และเป็นสิ่งที่มักจะทำให้ผู้ป่วยต้องการรักษาและมาพบแพทย์ หรือ ทันตแพทย์
• บริเวณที่มักมีอาการปวด ได้แก่บริเวณ หน้าหู กราม ขมับ อาการปวดมัก เพิ่มขึ้นขณะขากรรไกรทำหน้าที่เช่น การเคี้ยว การหาว การพูดอื่นๆ รวมถึงเมื่อทำการกดที่บริเวณนั้นๆ จะเกิดอาการเจ็บปวดมากขึ้น (Tenderness)
• การกดเจ็บอาจเกิดในบริเวณที่มีความผิดปกติ โดยมิได้มีอาการปวดร่วมด้วยก็ได้
การทำหน้าที่ผิดปกติ (dysfunction)
2.1 การมีเสียงเกิดขึ้นที่ข้อต่อขากรรไกร (joint sound)
2.2 การเบี่ยงเบนของแนวทางการเคลื่อนที่ของขากรรไกร (jaw deviation)
2.3 การเคลื่อนที่ของขากรรไกรได้จำกัดหรือน้อยลง (limited or decrease in range of motion)
Dysfunction
Joint sound
Clicking
Crepitus grating / crepitation
Jaw deviation
Deviation
Deflection
Limited or decrease in range of motion
อธิบายวิธีการตรวจผู้ป่วย TMDs
History taking
อาการสำคัญ (chief complaint)
การเจ็บป่วย (medical history)
สภาพร่างกายของผู้ป่วยโดยทั่วไป (review of system)
สภาพจิตใจ(psychological assessment)
Chief
Complaint
Location of the pain
Onset of the pain
Characteristics of the pain
Aggravating and alleviating factors
Past consultations and treatments
Relationship to other pain complaints
Laboratory and other diagnostic tests
การตรวจการเคลื่อนที่ของขากรรไกร (Jaw movement)
การตรวจข้อต่อขากรรไกร (Temporomandibular joint)
การตรวจกล้ามเนื้อ (Muscle Examination)
ทราบหลักในการดูแลรักษาผู้ป่วย TMDs
Management of
Temporomandibular disorders
การให้ความรู้และวิธีปฏิบัติในการดูแลรักษาตนเองแก่ผู้ป่วย (Patient Education and Self-Care)
การรักษาเชิงพฤติกรรมและการเรียนรู้ (Cognitive Behavioral Intervention)
การใช้ยา (Pharmacologic Management)
กายภาพบำบัด (Physical Therapy)
การใช้เครื่องมือออร์โธพีดิก (Orthopedic Appliance Therapy)
การรักษาด้านบดเคี้ยว (Occlusal Therapy)
การผ่าตัด (Surgery)