Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ตัวแปร กรอบแนวคิด และสมมติฐาน :red_flag:, :star: นางสาวนาฎนภา อารยะศิลปธร …
ตัวแปร กรอบแนวคิด และสมมติฐาน :red_flag:
กรอบความคิด :pencil2:
ความหมาย
โครงสร้างที่แสดงลำดับการเกิดของตัวแปร ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรเชิงความเป็นเหตุเป็นผลที่ผู้วิจัยศึกษา
ประเภท
กรอบความคิดเชิงทฤษฎี
โมเดลโครงสร้างความสัมพันธ์ของตัวแปรทั้งหมด
กรอบความคิดการวิจัย
ปรับมาจากกรอบความคิดเชิงทฤษฎ๊ ด้วยการลดตัวแปรอย่างมีเหตุผลในการตัดสินใจ เหมาะสมกับบริบท
ที่มา
ทฤษฎีต่างๆ
ผลงานวิจัยต่างๆ
แนวคิด/ประสบการณ์ผู้วิจัย
การนำเสนอกรอบความคิด
จำลอง/สมการคณิตศาสตร์
บรรยายความ
แผนภาพ
แบบผสม
ประโยชน์
ทราบว่าจะต้องเก็บข้อมูล/ตัวแปรอะไร จากแหล่งใด
ทราบถึงวิธีการหรือเครื่องมือที่จะใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
ทำให้ออกแบบการวิจัยได้ถูกต้อง
ทำให้เห็นแนวทางการวิเคราะห์ข้อมูล
ทำให้สามารถตีความผลการวิเคราะห์ข้อมูลได้ถูกต้องสอดคล้อง
ตัวแปร :pencil2:
ความหมาย
ประเด็น/คุณลักษณะที่ผู้วิจัยสนใจศึกษา เป็นตัวที่จะสามารถแปรเปลี่ยนค่าในรูปปริมาณหรือคุณภาพ ตั้งแต่ 2 ค่าขึ้นไป ตามเงื่อนไขที่กำหนด
ประเภท
ตามคุณสมบัติค่าของตัวแปร
เชิงปริมาณ
เชิงคุณลักษณะ/เชิงคุณภาพ
ความต่อเนื่องของตัวแปร
ตัวแปรต่อเนื่อง
ตัวแปรไม่ต่อเนื่อง
ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรเชิงเหตุผล
ตัวแปรสอดแทรก/ตัวแปรแทรกซ้อน (ไม่ทราบลาวงหน้ามาก่อน แต่มีผลต่อตัวแปรตาม)
ตัวแปรเกิน/ตัวแปรภายนอก (ทราบล่วงหน้า มีผลต่อตัวแปรตาม หาทางควบคุม
ตัวแปรตาม
ตัวแปรกดดัน (มีอิทธิพลต่อตัวแปรอิสระ ส่งผลต่อตัวแปรตาม
ตัวแปรอิสระ
จัดกระทำได้
จัดกระทำไม่ได้
ลักษณะตัวแปร
รูปธรรม/ทุกคนรับรู้ เข้าใจตรงกัน
นามธรรม /คนทั่วไปตีความไม่เหมือนกัน
หลักการนิยามตัวแปร
กำหนดรายการตัวแปร
กำหนดจากวัตถุประสงค์/สมมติฐาน และอาจกำหนดตามประเภทตัวแปร
นิยามตัวแปร
นิยามเฉพาะตัวแปรอิสระ มีประโยชน์ในการจัดกระทำกับตัวแปร
ตัวแปรตาม มีประโยชน์ต่อการสร้างเครื่องมือ
สมมติฐาน :pencil2:
แหล่งที่มา
ความรู้ความสามารถผู้วิจัย
ประสบการณ์ผู้วิจัย
หลักเหตุผลในการวิเคราะห์เพื่อตั้งสมมติฐาน
ผลการวิจัยคนอื่น
ปรัชญา ความเชื่อ
ทฤษฎี หลักการ โครงสร้างต่างๆ
ประโยชน์
บอกถึงข้อมูลที่จะนำมาใช้
การทดสอบสมมติฐานนำไปสู่การสร้างทฤษฎี
กำหนดขอบเขตการวิจัย ทั้งเนื้อหา พื้นที่ เวลา ประชากร
ได้แนวทางในการเขียนผลงานวิจัย/คำตอบได้ชัดเจนขึ้น
ทำให้แนวคิดเรื่องชัดเจนวิจัย
ได้แนวทางในการวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่จะใช้
ประเภท
สมมติฐานทางสถิติ
null hypothesis
alternative hypothesis
สมมติฐานการวิจัย
แบบมีทิศทาง
แบบไม่มีทิศทาง
ความหมาย
หลักการเขียนสมมติฐานการวิจัย
พิจารณาตัวแปรในวัตถุประสงค์ของการวิจัย
พิจาณาข้อความถึงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
ตรวจสอบวัตถุประสงค์ของวิจัยแต่ละข้อ
ลงมือเขียนสมมติฐานการวิจัยให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การวิจัย
ลักษณะของสมมติฐานที่ดี
สมเหตุสมผลตามทฤษฎี
สอดคล้องกับความมุ่งหมายการวิจัย/วัตถุประสงค์
ตรวจสอบได้
ใช้ภาษาเข้าใจง่าย
:star: นางสาวนาฎนภา อารยะศิลปธร
รหัส 64632233104 :star:
ผลย่อมเกิดจากพหุปัจจัย